ชื่อ เซี่ย

ชื่อ เซี่ย / สี เญี้ยป
士燮
ขุนพลพิทักษ์ (衛將軍 เว่ย์เจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
หลัง ค.ศ. 220 (220) – ค.ศ. 226 (226)
กษัตริย์ซุนกวน
ขุนพลซ้าย (左將軍 จั่วเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 210 (210) – ค.ศ. 220 (220)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ขุนพลสงบแดนไกล
(安遠將軍 อันยฺเหวี่ยนเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ขุนพลองครักษ์สงบภาคใต้
(綏南中郎將 ซุยหนานจงหลางเจี้ยง)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
เจ้าเมืองเกาจี (交趾太守 เจียวจื่อไท่โฉฺ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 187 (187) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์พระเจ้าเลนเต้ /
พระเจ้าเหี้ยนเต้
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดค.ศ. 137
อำเภอชางอู๋ เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก
เสียชีวิตค.ศ. 226 (89 ปี)
นครกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง ง่อก๊ก
บุพการี
  • ขื่อ ชื่อ (บิดา)
อาชีพขุนพล, นักการเมือง, ขุนศึก
ชื่อรองเวย์เยี่ยน (威彥)
บรรดาศักดิ์หลงเปียนโหฺว
(龍編侯)
สมัญญานามเทียนก๋ามซาอึงลิญอู๋ได่เวือง (Thiện Cảm Gia Ứng Linh Vũ Đại Vương; 善感嘉應靈武大王)
(มอบให้โดยราชวงศ์จ๋านแห่งเวียดนาม)

ชื่อ เซี่ย (จีน: 士燮; พินอิน: Shì Xiè; การออกเสียง) (ค.ศ. 137–226) ชื่อรอง เวย์เยี่ยน (จีน: 威彥; พินอิน: Wēiyàn) มีชื่อในภาษาเวียดนามว่า สี เญี้ยป (เวียดนาม: Sĩ Nhiếp) เป็นขุนพล นักการเมือง และขุนศึกชาวจีนที่มีชีวิตในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกและต้นยุคสามก๊กของจีน[1] ชื่อ เซี่ยรับราชการเป็นเป็นเจ้าเมืองของเมืองเกาจี (交趾 เจียวจื่อ) ซึ่งปัจจุบันคือตอนเหนือของประเทศเวียดนาม บันทึกประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 3 จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ) เป็นแหล่งข้อมูลหลักของจีนที่เกี่ยวข้องชีวประวัติของชื่อ เซี่ย[2] ชื่อ เซี่ยส่งเสริมศาสนาพุทธตลอดชีวิต หลังจากชื่อ เซี่ยเสียชีวิต ชาวเวียดนามได้เล่าขานตำนานมากมายเกี่ยวกับชื่อ เซี่ย[3] และยกย่องในฐานะ สีเวือง (Sĩ Vương ราชาสี; 士王 ชื่อหวาง) ในบางวัด

ภูมิหลังครอบครัวและประวัติช่วงต้น

[แก้]

ในฐานะขุนศึกในมณฑลเกาจิ๋ว

[แก้]

ในฐานะเจ้าประเทศราชของง่อก๊ก

[แก้]

ครอบครัว

[แก้]

ความนับถือ "ราชาสี" ในเวียดนาม

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  • ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ).
  • เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อจู้).
  • ซือหม่า กวาง (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.
  • de Crespigny, Rafe (2007). A Biographical Dictionary of Later Han to the Three Kingdoms 23-220 AD. Leiden: Brill. ISBN 9789004156050.
  • Dror, Olga (2007). Cult, Culture, and Authority: Princess Liễu Hạnh in Vietnamese History. University of Hawaii Press. ISBN 0824829727.
  • Holmgren, Jennifer (1980). Chinese Colonization of Northern Vietnam: Administrative Geography and Political Development in the Tonking Delta, First To Sixth Centuries A.D. Australian National University Press.
  • Keown, Damien (2003). A Dictionary of Buddhism. Oxford University Press.
  • Schafer, Edward Hetzel (1967). The Vermilion Bird. University of California Press.
  • Taylor, Keith Weller (1983). The Birth of Vietnam (illustrated, reprint ed.). University of California Press. ISBN 0520074173.
  • Walker, Hugh Dyson (2012), East Asia: A New History, ISBN 978-1477265161
  • Werner, Jayne; Dutton, George Edson; Whitmore, John K., บ.ก. (2012). Sources of Vietnamese Tradition. Columbia University Press. ISBN 0231511108.


ก่อนหน้า ชื่อ เซี่ย ถัดไป
ไม่มี เจ้าเมืองเกาจี
Thái Thú Giao Châu

(ค.ศ. 187–226)
ชื่อ ฮุย