ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 48

คิงส์คัพ 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย ประเทศไทย
เมืองจังหวัดเชียงใหม่
วันที่22–25 กันยายน พ.ศ. 2565
ทีม(จาก 2 สมาพันธ์)
สถานที่สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
อันดับที่ 3ธงชาติไทย ไทย
อันดับที่ 4ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน4
จำนวนประตู(2 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม36,207 (9,052 คนต่อนัด)
2019
2023

การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 48 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22–25 กันยายน พ.ศ. 2565 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม คือ ไทย (เจ้าภาพ), มาเลเซีย, ทาจิกิสถาน และ ตรินิแดดและโตเบโก

ทีมที่เข้าร่วม

[แก้]
ประเทศ สมาคม สมาพันธ์ อันดับโลกฟีฟ่า1 ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ) เอฟเอ ไทยแลนด์ เอเอฟซี 111 ชนะเลิศ (15 สมัย; สมัยล่าสุด: 2017)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย เอฟเอเอ็ม เอเอฟซี 148 ชนะเลิศ (4 สมัย; สมัยล่าสุด: 1978)
ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน เอฟเอฟที เอเอฟซี 109 ครั้งแรก
ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก ทีทีเอฟเอ คอนคาแคฟ 101 ครั้งแรก
  • 1 อันดับโลกฟีฟ่า ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2565[1]

สถานที่แข่งขัน

[แก้]

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เปิดให้จังหวัดที่มีความพร้อมเสนอแผนจัดการแข่งขันฟุตบอล International ‘A’ Match ตามปฏิทิน ฟีฟ่า เดย์ โดยให้ส่งเอกสารยื่นความจำนงภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2565[2] โดยเบื้องต้นมี 3 สนามที่ถูกเสนอให้พิจารณาเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้ คือ สนามกีฬาติณสูลานนท์ ในจังหวัดสงขลา, ลีโอ เชียงราย สเตเดียม ในจังหวัดเชียงราย และสนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ในจังหวัดเชียงใหม่ สุดท้ายในวันที่ 27 กรกฎาคม สมาคมฯ จึงเลือกสนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้[3]

จังหวัดเชียงใหม่
สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
18°50′23″N 98°57′34″E / 18.83972°N 98.95944°E / 18.83972; 98.95944 (สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี)
ความจุ: 25,000 ที่นั่ง

ผู้เล่น

[แก้]

นัด

[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, เวลาอินโดจีน (UTC+7)

กฎกติกาการแข่งขัน

[แก้]
  • 90 นาที
  • การดวลลูกโทษ ถ้าในกรณีที่จำเป็นโดยไม่มีการต่อเวลาพิเศษ
  • เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุด 5 คน

สายการแข่งขัน

[แก้]
  รอบรองชนะเลิศ นัดชิงชนะเลิศ
22 กันยายน – เชียงใหม่
 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก  1  
 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน  2  
 
25 กันยายน – เชียงใหม่
     ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน
(ลูกโทษ)
 0 (3)
   ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย  0 (0)
นัดชิงอันดับที่ 3
22 กันยายน – เชียงใหม่ 25 กันยายน – เชียงใหม่
 ธงชาติไทย ไทย  1 (3)  ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก  1
 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
(ลูกโทษ)
 1 (5)    ธงชาติไทย ไทย  2

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

ไทย ธงชาติไทย1–1ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
พรรษา ประตู 90+5' รายงาน Corbin-Ong ประตู 32'
ลูกโทษ
3–5

นัดชิงอันดับที่ 3

[แก้]

นัดชิงชนะเลิศ

[แก้]

อันดับการแข่งขัน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน สรุปผลงาน
1 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 2 1 1 0 2 1 +1 4 แชมเปียนส์
2 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 2 0 2 0 1 1 0 2 รองชนะเลิศ
3 ธงชาติไทย ไทย (H) 2 1 1 0 3 2 +1 4 อันดับ 3
4 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 2 0 0 2 2 4 −2 0 อันดับ 4
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

ชนะเลิศ

[แก้]
 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 48
ชนะเลิศ 
ธงชาติทาจิกิสถาน
ทาจิกิสถาน
สมัยที่ 1

การถ่ายทอดสด

[แก้]
ประเทศ สถานีโทรทัศน์ สตรีมมิงอย่างเป็นทางการ อ้างอิง
 ไทย ไทยรัฐทีวี เอไอเอส เพลย์

อ้างอิง

[แก้]
  1. FIFA.com. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Ranking Table - FIFA.com". FIFA.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2022-08-25.
  2. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2022-07-01). "สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เปิดให้จังหวัดที่มีความพร้อมเสนอแผนจัดการแข่งขันฟุตบอล International 'A' Match ตามปฏิทิน ฟีฟ่า เดย์". fathailand.org. สืบค้นเมื่อ 2022-09-15.
  3. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2022-07-27). ""เชียงใหม่" ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ฟุตบอล ฟีฟ่า เดย์ เดือนกันยายน". fathailand.org. สืบค้นเมื่อ 2022-09-15.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]