ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2019

ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
เมืองชลบุรี
วันที่15 – 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562
ทีม9
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ เวียดนาม (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศ ไทย
อันดับที่ 3 พม่า
อันดับที่ 4 ฟิลิปปินส์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน20
จำนวนประตู111 (5.55 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,852 (93 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศพม่า Yee Yee Oo
(8 ประตู)
2018
2022

การแข่งขัน ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2019 เป็นการจัดแข่งขันขึ้นเป็นครั้งที่ 11 ของฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน, เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงระดับนานาชาติจัดโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (เอเอฟเอฟ) ทัวร์นาเมนต์นี้ได้จัดขึ้นที่ ชลบุรี, ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 15 ถึง 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562[1]

ไทย คือทีมแชมป์เก่า.

ผู้เล่น

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดที่ระบุไว้คือ เวลามาตรฐานไทย (UTC+07:00)

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ไทย 4 4 0 0 28 2 +26 12 รอบแพ้คัดออก
2  ฟิลิปปินส์ 4 3 0 1 16 4 +12 9
3  มาเลเซีย 4 2 0 2 9 10 −1 6
4  ติมอร์-เลสเต 4 1 0 3 2 22 −20 3
5  สิงคโปร์ 4 0 0 4 1 18 −17 0
แหล่งข้อมูล: เอเอฟเอฟ
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ฟิลิปปินส์ 3–0 มาเลเซีย
Rodriguez ประตู 40'51'
Long ประตู 51'
รายงาน

ติมอร์-เลสเต 0–7 ฟิลิปปินส์
รายงาน Quezada ประตู 5'
Castañeda ประตู 13'
Rodriguez ประตู 23'45+2'
Long ประตู 62' (ลูกโทษ)76'
Lemoran ประตู 90+2'

มาเลเซีย 4–0 สิงคโปร์
Nurul I. ประตู 26'
Lovelytha ประตู 35'
Jaciah ประตู 56'
Shereilynn ประตู 80'
รายงาน
ไทย 9–0 ติมอร์-เลสเต
จารุวรรณ ประตู 1'
Mendonça ประตู 11' (เข้าประตูตัวเอง)
อรพินท์ ประตู 45'90'
กาญจนา ประตู 50'60'
สุชาวดี ประตู 63'90+2'
พิสมัย ประตู 64'
รายงาน

มาเลเซีย 5–0 ติมอร์-เลสเต
Sihaya ประตู 16'86'
Dadree ประตู 60'66'
Norhanisa ประตู 78'
รายงาน

สิงคโปร์ 0–4 ฟิลิปปินส์
รายงาน Del Campo ประตู 1'45'49'
Quezada ประตู 7'
ไทย 7–0 มาเลเซีย
เสาวลักษณ์ ประตู 2'14'35'86'
อรพินท์ ประตู 26'
ขวัญฤดี ประตู 43'47'
รายงาน

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เวียดนาม 3 3 0 0 21 0 +21 9 รอบแพ้คัดออก
2  พม่า 3 2 0 1 17 5 +12 6
3  อินโดนีเซีย 3 1 0 2 4 14 −10 3
4  กัมพูชา 3 0 0 3 1 24 −23 0
แหล่งข้อมูล: เอเอฟเอฟ
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
พม่า 7–0 อินโดนีเซีย
Yee Yee Oo ประตู 3'27'90'
Khaing Thazin ประตู 17'
Khin Moe Wai ประตู 45+4'
Win Theingi Tun ประตู 66'
Khin Marlar Tun ประตู 76'
รายงาน
เวียดนาม 10–0 กัมพูชา
Huỳnh Như ประตู 3'7'
Sreyneat ประตู 4' (เข้าประตูตัวเอง)
Phạm Hải Yến ประตู 15'16'84'
Nguyễn Thị Bích Thùy ประตู 17'19'24'69'
รายงาน

กัมพูชา 1–10 พม่า
Nimol ประตู 77' (ลูกโทษ) รายงาน Yee Yee Oo ประตู 45+5'73'90'90+4'
May Thu Kyaw ประตู 30'
Khin Marlar Tun ประตู 31'
Win Theingi Tun ประตู 60'90+3'
Khin Moe Wai ประตู 64'
Thin Thin Yu ประตู 79'

กัมพูชา 0–4 อินโดนีเซีย
รายงาน Mayang ประตู 21'
Dewi ประตู 25'90+1'
Amiatun ประตู 90+4'

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
25 สิงหาคม 2562 – ชลบุรี
 
 
 ไทย 3
 
27 สิงหาคม 2562 – ชลบุรี
 
 พม่า1
 
 ไทย 0
 
25 สิงหาคม 2562 – ชลบุรี
 
 เวียดนาม (ต่อเวลาพิเศษ) 1
 
 เวียดนาม 2
 
 
 ฟิลิปปินส์1
 
นัดชิงอันดับ 3
 
 
27 สิงหาคม 2562 – ชลบุรี
 
 
 พม่า 3
 
 
 ฟิลิปปินส์0

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
เวียดนาม 2–1 ฟิลิปปินส์
Huỳnh Như ประตู 41'
Nguyễn Thị Tuyết Dung ประตู 57'
Trần Thị Hồng Nhung ประตู 35' (เข้าประตูตัวเอง)
ไทย 3–1 พม่า
พิสมัย ประตู 20'
รัตติกาล ประตู 81'
ศิลาวรรณ ประตู 88'
รายงาน Khin Marlar Tun ประตู 90+3'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Rebecca Durcau (ออสเตรเลีย)

นัดชิงอันดับ 3

[แก้]
พม่า 3–0 ฟิลิปปินส์
Yee Yee Oo ประตู 63'
Nu Nu ประตู 66'72'
รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
ไทย 0–1 (ต่อเวลาพิเศษ) เวียดนาม
Huỳnh Như ประตู 95'

ผู้ทำประตู

[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 110 ประตูที่ทำได้ใน 20 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 5.5 ประตูต่อนัด.

8 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Thailand to host three AFF competitions in 2019". ASEAN Football Federation. 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)