ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
ระบบสุดท้ายสลายตัว1 มกราคม พ.ศ. 2559
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อแพทริเซีย (เป็นพายุที่รุนแรงที่สุดในซีกโลกตะวันตก)
 • ลมแรงสูงสุด200 ไมล์/ชม. (325 กม./ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด879 มิลลิบาร์ (hPa; 25.96 inHg)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด31 (สูงเป็นประวัติการณ์)
พายุโซนร้อนทั้งหมด26
พายุเฮอริเคน16 (สูงเป็นประวัติการณ์, ร่วมกับฤดูกาล 2533, 2535 และ 2557)
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่
(ระดับ 3 ขึ้นไป)
11 (สูงเป็นประวัติการณ์)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทางตรง 35 คน, ทางอ้อม 5 คน
ความเสียหายทั้งหมด476.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2015)
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก
2556, 2557, 2558, 2559, 2560

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558 เป็นฤดูกาลในอดีต ที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน โดยฤดูกาลนี้จะเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ในตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิก และไปจบลงในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 นี่เป็นขอบเขตระยะเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแปซิฟิก อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ที่พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ตลอดเวลา จากปรากฏการณ์เอลนีโญ ฤดูนี้จึงมีพายุสูงกว่าค่าเฉลี่ย

ภาพรวมฤดูกาล

[แก้]
Saffir–Simpson hurricane wind scale

พายุ

[แก้]

พายุเฮอริเคนแอนเดรียส

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน
ความรุนแรง 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) (1 นาที)
937 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.67 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนบลันคา

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 31 พฤษภาคม – 9 มิถุนายน
ความรุนแรง 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) (1 นาที)
943 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.85 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนการ์โลส

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 17 มิถุนายน
ความรุนแรง 90 ไมล์/ชม. (150 กม./ชม.) (1 นาที)
978 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.88 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอลา

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 10 กรกฎาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฮาโลลา

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 12 กรกฎาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูน

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 10 กรกฎาคม – ปัจจุบัน
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโดโลเรส

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 19 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
944 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.88 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอนริเก

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 18 กรกฎาคม
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเฟลิเซีย

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 25 กรกฎาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนแปด-อี

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนกิเยร์โม

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 กรกฎาคม – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 105 ไมล์/ชม. (165 กม./ชม.) (1 นาที)
970 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.64 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนฮิลดา

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) (1 นาที)
946 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.94 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนสิบเอ็ด-อี

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนกิโล

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 สิงหาคม – 1 กันยายน (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) (1 นาที)
940 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.76 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโลค

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 26 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 ไมล์/ชม. (120 กม./ชม.) (1 นาที)
985 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.09 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนอิกนาซิโอ

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 25 สิงหาคม – 5 กันยายน
ความรุนแรง 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) (1 นาที)
942 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.82 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนฆิเมนา

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 10 กันยายน
ความรุนแรง 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) (1 นาที)
936 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเควิน

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 31 สิงหาคม – 5 กันยายน
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
995 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.38 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนลินดา

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 10 กันยายน
ความรุนแรง 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) (1 นาที)
951 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.08 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมาลีอา

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 22 กันยายน
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1001 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.56 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนสิบหก-อี

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 21 กันยายน
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1002 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.59 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโอโฮ

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 8 ตุลาคม
ความรุนแรง 110 ไมล์/ชม. (175 กม./ชม.) (1 นาที)
957 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.26 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนแปด-ซี

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 4 ตุลาคม (ออกนอกแอ่ง ณ วันที่ 6 ตุลาคม)
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1001 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.56 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนนอรา

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 15 ตุลาคม
ความรุนแรง 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที)
993 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.32 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโอลาฟ

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) (1 นาที)
938 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.7 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนแพทริเซีย

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 24 ตุลาคม
ความรุนแรง 200 ไมล์/ชม. (325 กม./ชม.) (1 นาที)
879 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 25.96 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนริก

[แก้]
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 22 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1002 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.59 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนแซนดรา

[แก้]
พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 28 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) (1 นาที)
935 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.61 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนเก้าซี

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 ธันวาคม พ.ศ. 2558 – 1 มกราคม พ.ศ. 2559
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1001 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.56 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

[แก้]

รายชื่อต่อไปนี้ ใช้สำหรับการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2558 สำหรับการปลดชื่อ ถ้ามีจะได้รับการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 2559 ซึ่งชื่อที่ไม่ถูกปลด จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปีฤดูกาล พ.ศ. 2564[1]และนี่ก็เป็นรายการชื่อเดียวกันกับที่เคยใช้ไปในฤดูกาล พ.ศ. 2552

  • แอนเดรียส
  • บลังกา
  • การ์โลส
  • โดโลเรส
  • เอนริเก
  • เฟลิเซีย
  • กิเยร์โม
  • ฮิลดา
  • อิกนาซิโอ
  • ฆิเมนา
  • เควิน
  • ลินดา
  • มาร์ตี
  • นอรา
  • โอลาฟ
  • แพทริเซีย
  • ริก
  • แซนดรา
  • เทร์รี (ยังไม่ใช้)
  • วีเวียน (ยังไม่ใช้)
  • วัลโด (ยังไม่ใช้)
  • ซีนา (ยังไม่ใช้)
  • ยอร์ก (ยังไม่ใช้)
  • เซลดา (ยังไม่ใช้)


สำหรับพายุเฮอริเคนในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นเขตรับผิดชอบของศูนย์เฮอริเคนมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ระหว่าง 140 องศาตะวันตกถึงเส้นแบ่งวันสากล โดยชื่อทั้งหมดจะถูกใช้หมุนวนสี่รายการ อีกสี่ชื่อจะถูกแสดงด้านล่าง

  • เอลา
  • ฮาโลลา
  • ลูน
  • กิโล
  • โลค
  • มาลีอา
  • นีอาลา
  • โอโฮ
  • ปาลี (ยังไม่ใช้)
  • อูลีกา (ยังไม่ใช้)
  • วาลากา (ยังไม่ใช้)
  • อาโกนี (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ

[แก้]

ตารางนี้แสดงพายุทั้งหมดที่ก่อตัวในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งรวมระยะเวลาการก่อตัว, ชื่อ, บนบก–แสดงชื่อสถานที่เป็นตัวหนา– , ความเสียหาย และจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด ส่วนการเสียชีวิตในวงเล็บคือการเสียชีวิตเพิ่มเติมและทางอ้อม (เช่นการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน) แต่ที่เกี่ยวข้องกับพายุโดยตรงยังคงที่ ความเสียหายและการเสียชีวิตรวมถึงขณะที่พายุกลายเป็นเอ็กซ์ตราทรอปิคอล, คลื่น ความเสียหายทั้งหมดนับเป็นดอร์ล่าสหรัฐ ค่าเงินปี ค.ศ. 2015

สถิติของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก พ.ศ. 2558
ชื่อ
พายุ
วันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีความรุนแรงสูงสุด
ลมสูงสุด
1-นาที
ไมล์/ชม. (กม./ชม.)
ความกดอากาศ
(มิลลิบาร์)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย
(ดอลลาร์สหรัฐ)
เสียชีวิต อ้างอิง


แอนเดรียส 28 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 (230) 937 ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ไม่มี ไม่มี
บลังกา 31 พฤษภาคม – 9 มิถุนายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 (220) 943 เม็กซิโกตะวันตก, คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย, แคลิฟอร์เนียใต้ เล็กน้อย ไม่มี
การ์โลส 10 – 17 มิถุนายน พายุเฮอริเคนระดับ 1 90 (150) 978 เม็กซิโกตะวันตกเฉียงใต้, เม็กซิโกตะวันตก 1.1 1
เอลา 8 – 10 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 40 (65) 1003 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฮาโลลา 10 – 12 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 60 (95) 999 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ลูน 10 – 13 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 40 (65) 1003 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
โดโลเรส 11 – 19 กรกฎาคม พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 (215) 944 เม็กซิโกตะวันตกเฉียงใต้, เม็กซิโกตะวันตก, สหรัฐอเมริกาตะวันตกเฉียงใต้ ไม่ทราบ ไม่มี
เอนริเก 12 – 18 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 50 (85) 1000 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เฟลิเซีย 23 – 25 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 40 (65) 1004 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
แปด-อี 27 – 30 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 35 (55) 1007 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
กิเยร์โม 29 กรกฎาคม – ปัจจุบัน พายุเฮอริเคนระดับ 2 105 (165) 970 รัฐฮาวาย, อ่าวซานฟรานซิสโก ไม่มี ไม่มี
ฮิลดา 6 – 13 สิงหาคม พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 (220) 946 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สิบเอ็ด-อี 16 – 18 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 35 (55) 1003 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
กิโล 20 สิงหาคม – 1 กันยายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 (220) 940 จอห์นสตันอะทอลล์ ไม่มี ไม่มี
โลค 21 – 26 สิงหาคม พายุเฮอริเคนระดับ 1 75 (120) 985 ฮาวาย ไม่มี ไม่มี
อิกนาซิโอ 25 สิงหาคม – 5 กันยายน พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 (230) 942 ฮาวาย ไม่มี ไม่มี
ฆิเมนา 26 สิงหาคม – ปัจจุบัน พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 (240) 936 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เควิน 31 สิงหาคม – 5 กันยายน พายุโซนร้อน 65 (100) 995 คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย, สหรัฐอเมริกาตะวันตกเฉียงใต้ ไม่มี ไม่มี
ลินดา 6 – 10 กันยายน พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 (205) 951 คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย, แคลิฟอร์เนียใต้ ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
19 ลูก 28 พฤษภาคม – 1 มกราคม   150 (240) 936 1.1 1  

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Tropical Cyclone Names". National Hurricane Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. 2013-04-11. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-08. สืบค้นเมื่อ May 8, 2013.