ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2518 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 21 มกราคม พ.ศ. 2518 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2518 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | จูน |
• ลมแรงสูงสุด | 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 875 hPa (มิลลิบาร์) |
สถิติฤดูกาล | |
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 25 ลูก |
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 20 ลูก |
พายุไต้ฝุ่น | 14 ลูก |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น | 3 ลูก (ไม่เป็นทางการ) |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | มากกว่า 229,160 |
ความเสียหายทั้งหมด | > 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน USD ปี 1975) |
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2518 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2518 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2518) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้
ในปีนี้ มีพายุบางลูกที่มีความโดดเด่น นั่นคือ พายุไต้ฝุ่นนีนา ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอุทกภัยจากเขื่อนบ่านเฉียว ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 229,000 คน และพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นจูน ซึ่งเป็นพายุที่มีความรุนแรงที่สุด บันทึกความกดอากาศต่ำสุดได้ 875 มิลลิบาร์ จนถูกแย่งตำแหน่งไปโดยพายุไต้ฝุ่นทิปในปี พ.ศ. 2522 ด้วยความกดอากาศ 870 มิลลิบาร์
ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 25 ลูก ในจำนวนนี้ 20 ลูก พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 14 ลูก และในจำนวนนั้น 3 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 21 – 28 มกราคม | ||
ความรุนแรง | 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 22 – 28 เมษายน | ||
ความรุนแรง | 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 26 – 30 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท) |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 30 กรกฎาคม – 6 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 900 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.58 นิ้วปรอท) |
นีนา เป็นพายุที่มีช่วงชีวิตสั้นแต่ทวีกำลังแรงเป็นพายุไต้ฝุ่นได้อย่างรวดเร็ว หลังจากก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม มันพัดเข้าที่ประเทศไต้หวันในฐานะพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น และคงความรุนแรงได้ในระดับพายุไต้ฝุ่นขณะเคลื่อนผ่านเกาะ เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิต 25 ราย และสร้างความเสียหายอย่างกว้างขวาง จากนั้นมันเคลื่อนตัวลงสู่ช่องแคบฟอร์โมซาและอ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน นีนามุ่งหน้าต่อไปยังแผ่นดินของประเทศจีน จากปฏิกิริยาระหว่างความชื้นและแนวปะทะอากาศเย็น ทำให้เกิดเป็นปริมาณน้ำฝนขนาดมหึมา ปริมาณฝนเป็นสาเหตุให้เขื่อนบ่านเฉียวแตกออก และส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 229,000 คน
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 5 – 7 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 9 – 15 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 11 – 18 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 17 – 24 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 25 สิงหาคม – 3 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 1 – 10 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 4 – 8 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 12 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 15 – 21 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 17 – 24 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 30 กันยายน – 9 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 2 – 7 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 15 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 900 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.58 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 15 – 17 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 19 – 23 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 24 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 1 – 4 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 5 – 14 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท) |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 15 – 24 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 875 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 25.84 นิ้วปรอท) |
พายุไต้ฝุ่นจูนเป็นพายุที่ทรงพลังที่สุดของฤดูกาล แต่ไม่ส่งผลกระทบใดต่อแผ่นดิน ในเวลานั้น พายุไต้ฝุ่นจูนถูกบันทึกว่าเป็นพายุที่มีความรุนแรงที่สุด ในบรรดาพายุหมุนเขตร้อนทั่วโลก ด้วยความกดอากาศต่ำที่สุด 875 มิลลิบาร์ และพายุไต้ฝุ่นจูนยังเป็นกรณีแรกของพายุไต้ฝุ่นที่ถูกบันทึกว่ามีกำแพงตาสามชั้น[2]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA) | |||
---|---|---|---|
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 26 – 30 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 26 – 30 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ชื่อแรกที่ใช้ในปี 2518 คือ ลอลา และชื่อสุดท้ายคือ จูน
|
|
|
|
อูริง (Auring) | เบเบง (Bebeng) | การิง (Karing) | ดีดิง (Diding) | เอตัง (Etang) |
เฮนิง (Gening) | เฮร์มิง (Herming) | อีซิง (Ising) | ลูดิง (Luding) | มาเมง (Mameng) |
เนเนง (Neneng) | โอเนียง (Oniang) | เปปัง (Pepang) | โรซิง (Rosing) | ซีซัง (Sisang) |
ตรีนิง (Trining) (ยังไม่ใช้) | ยูริง (Uring) (ยังไม่ใช้) | วาร์ลิง (Warling) (ยังไม่ใช้) | ยายัง (Yayang) (ยังไม่ใช้) | |
รายชื่อเพิ่มเติม | ||||
---|---|---|---|---|
อาดิง (Ading) (ยังไม่ใช้) | ||||
บารัง (Barang) (ยังไม่ใช้) | กรีซิง (Krising) (ยังไม่ใช้) | ดาดัง (Dadang) (ยังไม่ใช้) | เอร์ลิง (Erling) (ยังไม่ใช้) | โกยิง (Goying) (ยังไม่ใช้) |