ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน
ก่อตั้งพ.ศ. 2546
ภูมิภาคเอเอฟเอฟ (อาเซียน)
จำนวนทีม12
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอินเดีย Kingfisher East Bengal FC (สมัยแรก)
สิงคโปร์ ทัมปิเนสโรเวอร์ (สมัยแรก)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดอินเดีย Kingfisher East Bengal FC (สมัยแรก)
สิงคโปร์ ทัมปิเนสโรเวอร์ (สมัยแรก)
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน ฤดูกาล 2567–68

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน หรือ อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ (อังกฤษ: ASEAN Club Championship) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช็อปปี้ คัพ ด้วยเหตุผลด้านการสนับสนุน เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสรที่จัดโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ระหว่างสโมสรแชมป์ในประเทศ[1] การแข่งขันได้รับการสนับสนุนจากเอเอฟซี และฟีฟ่า คุณสมบัติในการแข่งขันเป็นของสโมสรแชมป์จากประเทศในเครือเอเอฟเอฟ บวกกับแชมป์จากอินเดียในปี 2546[2][3][1][4]

ประวัติ

[แก้]

การแข่งขันชิงแชมป์สโมสรอาเซียนจัดขึ้นเป็นครั้งแรกทุกสองปีในปี 2546 และ 2548[5]

สโมสรที่ร่วมแข่งขัน

[แก้]

สมาชิกรับเชิญ

ทีมชนะเลิศ

[แก้]
ฤดูกาล เจ้าภาพ คู่ชิงชนะเลิศ คู่ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการแข่งขัน อันดับที่ 4
2546
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
อินเดีย Kingfisher East Bengal FC

3-1 ไทย บีอีซี เทโรศาสน

อินโดนีเซีย Petrokimia Putra FC

3-0 มาเลเซีย เปรัก

2548
บรูไน บรูไน
สิงคโปร์ ทัมปิเนสโรเวอร์

4-2 มาเลเซีย ปะหัง

เวียดนาม ฮองอันห์ยาลาย

Not Played บรูไน DPMM FC (Duli Pengiran Muda Mahkota FC)

2567–68

สถิติชนะเลิศตามรายสโมสร

[แก้]
# สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
1 อินเดีย Kingfisher East Bengal FC 1 0 0 0
2 สิงคโปร์ ทัมปิเนสโรเวอร์ 1 0 0 0
3 มาเลเซีย ปะหัง 0 1 0 0
4 ไทย บีอีซี เทโรศาสน 0 1 0 0
5 บรูไน DPMM FC (Duli Pengiran Muda Mahkota FC) 0 0 1 0
6 เวียดนาม ฮองอันห์ยาลาย 0 0 1 0
7 อินโดนีเซีย Petrokimia Putra FC 0 0 1 0
8 มาเลเซีย เปรัก 0 0 0 1

สถิติชนะเลิศตามรายประเทศ

[แก้]
# ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
1 อินเดีย อินเดีย 1 0 0 0
2 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 1 0 0 0
3 มาเลเซีย มาเลเซีย 0 1 0 1
4 ไทย ไทย 0 1 0 0
5 บรูไน บรูไน 0 0 1 0
6 เวียดนาม เวียดนาม 0 0 1 0
7 อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 0 0 1 0

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร ปีการแข่งขัน ประตู
อินเดีย Baichung Bhutia อินเดีย Kingfisher East Bengal FC 2546 8
แคเมอรูน Bernard Tchoutang มาเลเซีย ปะหัง 2548 7
เวียดนาม Nguyen Dinh Viet เวียดนาม ฮองอันห์ยาลาย 2548 7
ไลบีเรีย Frank Seator มาเลเซีย เปรัก 2546 5
มาเลเซีย Indra Putra Mahayuddin มาเลเซีย เปรัก
มาเลเซีย ปะหัง
2546
2548
4
ไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง เวียดนาม ฮองอันห์ยาลาย 2546 & 2548 4
อินโดนีเซีย Zaenal Arif อินโดนีเซีย Persita Tangerang 2546 4
ไทย เทิดศักดิ์ ใจมั่น ไทย บีอีซี เทโรศาสน 2546 4
สิงคโปร์ Mirko Grabovac สิงคโปร์ ทัมปิเนสโรเวอร์ 2548 4
ประเทศพม่า Kyaw Thu Ra ประเทศพม่า Finance and Revenue 2548 4
บราซิล Rivaldo Costa อินโดนีเซีย Petrokimia Putra 2546 3
อินโดนีเซีย M Jaenal Ichwan อินโดนีเซีย Petrokimia Putra 2546 3
เวียดนาม Nguyen Van Dan เวียดนาม ฮองอันห์ยาลาย 2548 3
บราซิล Anderson ไทย พนักงานยาสูบ 2548 3

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 McCullagh, Kevin (6 November 2019). "Asean Club Championship to launch after getting AFC and Fifa backing". SportBusiness. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 September 2021. สืบค้นเมื่อ 17 November 2019.
  2. "AFC Statement on the Asean Club Championship | Football News |". the-AFC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-24. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
  3. "Fox Sports". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-06. สืบค้นเมื่อ 2019-11-17.
  4. Ninan, Susan (1 November 2016). "Before BFC in 2016, there was East Bengal's ASEAN win in 2003". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2020. สืบค้นเมื่อ 31 August 2022.
  5. "AFF to launch ASEAN Club Championship in 2020 featuring top clubs from Southeast Asia". Fox Sports Asia. 5 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 November 2019. สืบค้นเมื่อ 29 December 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]