รายชื่อตำราที่สำคัญของนิกายชีอะฮ์

สารบัญตำราต่างๆที่สำคัญของนิกายชีอะฮ์ ตำราเหล่านี้มีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับ หลักศรัทธา ประกอบด้วยหัวข้อสำคัญดังต่อไปนี้ การศรัทธาต่อความเอกะของพระผู้เป็นเจ้า,การศรัทธาต่อการเป็นศานทูตของศาสดามุฮัมหมัด,การเป็นอิมามตัวแทนท่านศาสดา(ศ)ของอิมามทั้งสิบสองท่าน,ความยุติธรรมของพระผู้เป็นเจ้าและการศรัทธาต่อวันสิ้นโลก. 

ตำราแหล่งข้อมูลทางฮะดิษ(คำกล่าวของท่านศาสดา(ศ)และอิมามทั้งสิบสองท่าน)

[แก้]

ตำราแหล่งข้อมูลทางฮะดีษชุดแรก

[แก้]

แหล่งข้อมูลทางฮะดีษชุดแรก کتب الاربعه หรือ กุตุบอัรบะอะฮ์หรือ เรียกอีกชื่อหนึ่ว่า อุศูลอัรบะอะฮ์ หมายถึงตำราฮะดีษสี่เล่มที่สำคัญที่สุดของนิกายชีอะฮ์ที่ถูกเรียบเรียงไว้ยุคเก่าแก่ที่สุด

นักวิชาการยุคหลังอาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า(แหล่งข้อมูลทางฮะดีษยุคก่อน หรือแหล่งข้อมูลทางอะดีษยุคแรกตำราสี่เล่มนี้ได้แก่

1- อัลกาฟี الکافی เรียบเรียงโดยท่าน มุฮัมหมัด อิบนิ ยะอฺกูบ กุลัยนี เสียชีวิตปี327-328ฮ.ศ. มีฮะดีษทั้งหมด16199 ฮะดีษ   

     2- มันลายะฮ์ฏุรุลฟะกีฮ์ من لایحضره الفقیه เรียบเรียงโดยท่าน อะบูญะอฺ์ฟัร อิบนิอลี อิบนิ บาบุวัยฮ์ กุมมี เป็นที่รู้จักในนามของเชค ซอดูก เสียชีวิตปี381ฮ.ศ. มีฮะดีษทั้งหมด5963ฮะดีษ

        3-  ตะฮ์ซีบุลอะฮ์กาม تهذیب الاحکام

เขียนโดย ท่าน อะบูญะฮฺฟัร มุฮัมหมัด อิบนิฮะซัน อัตตูซี หรือเป็นที่รู้จักในนามของเชคฎูซี เสียชีวิตปี 460 ฮ.ศ. มีฮะดีษทั้งหมด13590 บท


        4- อัลอิซติบศอรالاستبصار فِیمَا اختُلف مِن الاخبار

เรียบเรียงโดยท่านเชคฎูซีเช่นเดียวกัน มีฮะดิษทั้งหมด5511 บท

ตำราแหล่งข้อมูลทางฮะดีษชุดที่สอง

[แก้]

ตำราฮะดีษชุดที่สอง หรือเรียกกันว่า ตำราฮะดีษยุคหลัง หมายถึงตำราฮะดีษสามเล่มต่อไปนี้

  • 1- อัลวาฟี الوافی เรียบเรียงโดยท่าน มุฮัมหมัดเฟซคาชานี เสียชีวิตปี 1091 ฮ.ศ. 
  • 2-วะซาอิลุชชีอะฮ์ ฟีตะฮ์ศีล มะซาอิลุชชะรีอะฮ์ وسائل الشیعة فی تحصیل مسائل الشریعة ของท่านเชคฮุร อามุลี ท่านรวบรวมฮะดีษที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยบทบัญญัติทางศาสนาในหัวข้อต่างๆฬช่เวลารววบรวทราว18 ปี
  • 3- บิฮารุลอันวาร بحارالانوار เขียนโดยท่านมุฮัมหมัด บาเก็ร อิบนิ มุฮัมหมัดตะกี อัลมัจลิซี เสียชีวิต1111ฮ.ศ.[1]

นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์  نهج‌البلاغه 

เป็นตำราที่รวบรวมคุตบะฮ์ (การกล่าวเทศนา),จดหมายและคำกล่าวที่เป็นประโยคสั้นๆของท่าน อะลี อิบนิ อะบีตอลิบ (อ)เอาไว้โดยท่าน ซัยยิดรอฏี ในศตวรรศที่4ซึ่งเป็นหนึ่งในตำราทีมีการแปลเป็นภาษาอื่นๆมากเป็นลำดับต้นๆ [2]

  • ศอฮีฟะฮ์อัซซัจญาดียะฮ์

ศออีฟะฮ์อัซญาดียะฮ์ เป็นตำราที่รวบรวมคำกล่าวของท่านอิมามท่านที่สี่ของชีอะฮ์ท่านอิมามซัยนุลอาบิดีน อิบนิฮุเซน(อ)   [3]

  • กิตาบุซ ซะลีม อิบนิ เกส ฮะลาลี (อัศรอรุล อาลิมุอัมมหัด)เขียนโดยท่านซะลีม อิบนิเกซ
  • ฮักกุลยะกีน เป็นตำราที่ท่าน อัลลามะฮ์ มุฮัมหมัด บาเก็ร มัจลิซี ได้เขียนขึ้นเกี่ยวกับหลักศรัทธาและความเชื่อชองชีอะอ์
  • กุรบุลอัซนาด ของท่าน อับดุลลออื อิบนิ ญะอ์ฟัร ฮะมีรี มีฮะดีษทั้งหมด 1387บท
  • ฆุรอรุลฮิกัม วะ ดุรอรุล กะลัม เป็นตำราที่รวบรวม คำกล่าวของท่านอิมามอลี อิบนิ อะบีตอลิบ เอาไว้
  • มีซานุล ฮิกมะฮ์

มีซานุล ฮิกมะฮ์ เป็นสารานุกรมเกี่ยวกับฮะดีษที่ท่าน มุฮัมหมัด เรย์ ชะฮ์รี ได้เรียบเรียงไว้โดยใช้เวลาทั้งหมดในการรวบรวมราว๖๐ ปีระหว่างปี1347 ถึง ปี1407 ฮ.ศ. [4]

หนังสือดุอาอ์ (บทขอพร)

[แก้]
  • ศอฮีฟะฮ์ อะละวียะฮ์ ,เป็นตำราที่รวมบทดุอาอฺ (บทขอพร) ที่รายงานมาจากท่านอิมามอลี (อ) อิมามท่านแรกของชีอะฮ์.
  • ศอฮีฟะฮ์ ซัจญาดียะฮ์ เป็خตำราที่รวบรวม บทดุอาอฺ ,บทรำพันต่อพระผู้เป็นเจ้า ของท่านอิมามซัยนุลอาบิดีน อลี บิน อุเซน  อิมามที่4ของชีอะฮ์
  •  มะฟาติฮุลญินาน مفاتیح الجنان เป็นตำราที่รวบรวม บทดุอาอฺ ,บทรำพันต่อพระผู้เป็นเจ้า,บทซิยารัต(บทอ่านเวลาไปเยี่ยมหลุมฝังศพของบ่าวผู้ไกล้ชิดของพระองค์),อะมั้ลและข้อควรปฏิบัติในวัน,เดือน และปี ที่สำคัญ ที่ถูกรายงานมาจากท่านศาสดา(ศ)และบรรดาอิมามมะอฺศูม (อ) โดยการเรียบเรียงและรวบรวมของท่าน เชค อับบาส อัลกุมมี 
  • ศอฮีฟะฮ์ มะฮ์ดียะฮ์ ,เป็นตำราที่รวบรวมบทดุอาอฺที่รายงานไว้ว่ามาจาก ฮุจจะติบนิลฮะซัน อิมามมะฮ์ดี(อ)เป็นอิมามท่านสุดท้ายของชีอะฮ์
  • จะมาลุลอุซบูอฺ บิกะมาลิลอะมั้ลิลมัชรูอฺ เป็นตำราที่รบรวมบทดุอาอฺที่รายงานไว้โดยท่าน ซัยยิดิบนิตอวูซ มีทั้งหมด49บทดุอาอฺ
  • มุฮะญุดดะอะวาต วะ มันฮะจุลอิบาดาต เป็นตำราที่เกี่ยวกับบทดุอาอฺที่ท่าน ซัยยิด อิบนิ ตอวูซ ได้รวบรวมเอาไว้.

นิติศาตร์(วินิจฉัยบทบัญญัติทางศาสนา)

[แก้]
  • กัชฟุลฆิตอ อันมุบฮะมาติลชะรีอะติลฆอรรอ เรียบเรียงโดยท่านเชคญะฟัร กาชิฟุลฆอตอ 
  • มะศอดิรุลอิจติอาด วะมะบานิยุลอิซตินบาต อินดัลอิมามียะฮ์ เรียบเรียงโดย วัยยิด มุฮัมหมัดฮาดี คอนซอรี 

ตำรา อธิบายคัมภีร์อัลกุรอาน

[แก้]
ลำดับ ชื่อตำรา ผู้เรียบเรียง ศตวรรษ ภาษา นิกาย หัวข้อ
1 البرهان فی تفسیر القرآن 

อัลบุรฮาน ฟี ตัฟซีร อัลกุรอาน

سید هاشم بحرانی

ซัยยิดฮาชิม บะฮ์รอนี

یازدهم 

هجری
11ฮ.ศ.

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر روایی

ตัฟซีร
โดยอาศัย
ริวายัต

2 التبیان فی تفسیر القرآن

อัตติบยาน ฟี ตัฟวีริลกุรอาน

شیخ طوسی

เชคตูซี

پنجم هجری

5ฮ.ศ.

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر اجتهادی

ตัฟซีร
แบบอิจติฮาดี

3 تقریب القرآن إلی الأذهان

ตักรีบุลกุรอาน อิลัลอิซฮาน

سید محمد شیرازی

ซัยยิดมุฮัมหมัดชีรอซี

معاصر

ยุคปัจจุบัน

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر اعتقادی وتاریخی

ตัฟซีรเชิงหลักศรัทธาและประวัติศาสตร์

4 زبدة التفاسیر

ซุบดะตุ้ลตะฟาซีร

ملا فتح‌الله کاشانی

มุลาฟะตะฮุลลอฮ์ อัลคาชานี

دهم هجری

10ฮ.ศ.

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر روایی

ตัฟซีรเชิงริวายัต

5 کنز الدقائق وبحر الغرائب

กันซุลดะกออิก วะ บะฮ์รุ้ลฆอรออิบ

محمد بن محمد رضا قمی مشهدی

มุฮัมหมัก อิบนิ มุฮัหมัดรอฏอ มัชฮะดี

یازدهم هجری

11ฮ.ศ.

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر روایی ادبی

ตัฟซีรเชิงริวายัต

6 مجمع البیان فی تفسیر القرآن

มัจมะอุลบะยาน ฟีตัฟวีริล
กุรอาน

شیخ طبرسی

เชคตูซี

ششم هجری

6ฮ.ศ.

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะอ์

تفسیر جامع

ยึดหลักผสมผสาน

7 المیزان فی تفسیر القرآن

อัลมีวาน ฟี ตัฟซีริลกุรอาน

سید محمد حسین طباطبایی

วัยยิดมุอัมหมัดฮุเซน ตอบาตอบาอี

معاصر

ยุคปัจจุบัน

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر قرآن به قرآن

 ตัฟซีร
กุรอานโดย
กุรอาน

8 تفسیر نمونه

ตัฟซีรเนมูเนะฮ์

جمعی از علما

หลุ่มนักวิชาการ

معاصر

ยุคปัจจุบัน

فارسی

เปอร์เชีย

شیعه

ชีอะอ์

تفسیر اجتماعی

ผสมผสาน

9 نور الثقلین

นูรุษษะกอลัยน์

عبد العلی بن جمعه عروسی هویزی

อับดุลอะลี อิบนิจุมอะฮ์ อะรูซี ฮุวัยซี

یازدهم هجری

11ฮ.ศ.

عربی

อาหรับ

شیعه

ชีอะฮ์

تفسیر روایی

เชิง
ริวายัต

มารยาท,จริยศาสตร์,เศรษฐศาสตร์อิสลาม

[แก้]
  • ฮิลลียะตุ้ล มุตตะกีน เป็นตำราชื่อดังที่สุดของตำราภาษาเปอรืเซียของท่าน ฮัลลามะฮื มัจลิซี ที่เกี่ยวกับ มารยาท และวิถีปฏิบัติต่างทางจริยศาสตร์อิสลาม ที่เรียบเรียงไว้ในวันที่26 ซุลฮิจยะฮ์ 1081 ฮ.ศ.
  • อัคลาก นอศิรี เป็นตำราภาษาฟารซี หัวข้อ จริยศาสตร์ ,เศรฐศาสตร์ และการเมืองในอิสลาม พิมพิ์ตรั้งแรกเมื่อ 633 ฮ.ศ.
  • ตุฮะฟุลอุกูล เรียบเรียงโดย อบู มุฮัมหมัด ฮะวัน ฮะรอนี .

ตำราเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องอิมามมะฮ์ดี(อ) mahdism

[แก้]
  • อิลซามมุซนาศิบ โดยเชคอลี อิบนิ วัยนุลอาบิดีน พอรชีนี ยัซดี อัลฮาอิรี 
  • ผลจากความเชื่อเกี่ยวกับอิมามซะมาน(อิมามมะฮ์ดี) โดย มุอัมหมัด ฮาดีกันฮารี
  • ออฟตอบเบ้ซนดะฆี โดย มุฮัมหมัก ฮะดี กันฮารี
  • ดารุลอิสลาม โดย มะฮ์มูด มัยซัมมี
  • อัศรุซซุฮูร โดย อลี คูรอนี
  • อัลฆ็อยบะฮ์ الغیبه ของเชคตูซี
  • อัลฆ็อยบะฮ์ (นุอฺมานี) ของ มุฮัมหมัด อิบนิ อิบรอฮีม อิบนิจะฟัร นุอฺมานี 
  • ฟัรจอมชินอซี ฮะยาเต อินซอน โดย ฆุลามฮัเซน ตาจิรี นะซับ
  •  กะมาลลุดีน วะตะมามุลเนิยะอ์มะฮ์ کمال الدین و تمام النعمهโดย เชคศอดดู๊ก
  • มะลาฮิม วะฟิตัน
  • มิกยาลุลมะกอริม โดย มุฮัมมหัดตะกี มูวะวี อิสฟะฮานี
  • อัลมุฮ์ญะตุ้ล ฟีมา นะซะละ ฟิ้ลกออิมิลฮุจจะฮ์ โดยซัยยิด ฮาชิม บะฮรอนี
  • มะอ์ริฟัตเต อิมอมเม่อัศร์ โดย มุฮัมหมัด บนีฮาชิม
  • มุนตะคอบบุ้ล อะษัร ฟี อิมามิษษานีอะชัร โดย ลุตฟุ้ลลอฮ์ สอฟี ฆุลพอยฆอนี
  • นัจมุล ษาฆิบ โดย มิรซอ ฮุเซน ตอบัรซี นูรี
  •  (الیوم الخلاص)
  • อัลบุรฮานิลอัซนะอะชัร อะลา วุจูดดิล อิมามิลษานี อะชัร โดย วัยยิด ตอยยิบ จะซาอิรี

หนังสือประวัติศาสตร์

[แก้]
  • มุนตะฮิลอามาล โดย เชค อับบาสกุมมี รวมเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของท่านศาสดา(ศ)และอะฮ์ลุลบัยต์
  • ชีอะฮ์ในอิสลาม โดย ซัยยิด มุฮัมหมัดฮุเซน ตอบาตอบาอี
  • ชุฮะดาเย่เราะฮ์เฮ่ฟะฏีลัต
  • อิซอนเน่ 250 ซอลเล่  โดย ซัยยิดอลี คอมานเอี Sayyid Ali Khamenei

ประเด็นวิเคราะห์ระหว่างนิกายชีอะฮ์และอะฮ์ลิซซุนนะฮ์

[แก้]
  • อัลมุรอจิอาต เรียบเรียวโดย อับดุลฮุเซนชะรอฟุดดีน อัลมูซะวี

หนังสือเกี่ยวกับชีอะฮ์

[แก้]
  • ชีอะฮ์ในอิสลามโดย ฮัลลามะฮ์ตอบาตอบาอี

ลิงก์กับบทความอื่น

[แก้]
  • ตำราต่างๆของชีอะฮ์
  • ตำราชีอะฮ์

ตำราต่างที่เป็นลายลักอักษรเก่าแก่

เครือข่ายบะลาฆ بلاغ:

อ้างอิง

[แก้]
  1. บิฮ่ารุนอันวาร ,คำนำ
  2. [1] เก็บถาวร 2020-02-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน اسلام پدیا - معرفی نهج البلاغه-อิสลามพีเดีย
  3. ศอฮีฟะฮ์ซัจญาดียะฮ์ «کتاب صحیفه سجادیه»[ลิงก์เสีย]. کتابخانه طهور. بازبینی‌شده در ۱۵ دی ۱۳۸۶.
  4. حدیث نت