บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ภาพธงในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดีย
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
ตั้งแต่ พ.ศ. 2490 | ธงชาติอินเดีย | ธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีแสด-ขาว-เขียว กลางแถบสีขาว เป็นรูปธรรมจักรพระเจ้าอโศกมหาราชสีน้ำเงิน ซึ่งมีกำ 22 ซี่ ธงนี้มีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า "ติรังคา" (ภาษาฮินดี : तिरंगा) แปลว่า ธงสามสี |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
ธงประจำตำแหน่งประธานาธิบดี | ธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1 อยู่มุมซ้ายบน เป็นรูปตราแผ่นดินบนพื้นสีน้ำเงิน หมายถึงเอกภาพของชาติ ส่วนที่ 2 อยู่มุมขวาบน เป็นภาพวาดช้างจากถ้ำอชันตา บนพื้นสีแดง หมายถึง ความอดทนและความเข้มแข็ง ส่วนที่ 3 อยู่มุมซ้ายล่าง เป็นตราชูจากป้อมแดง (Red Fort) ที่เมืองเดลลีเดิม บนพื้นสีแดง หมายถึง ความยุติธรรม ส่วนที่ 4 อยู่มุมขวาล่าง เป็นภาพแจกันดอกบัวที่สารนาถ บนพื้นสีน้ำเงิน หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองของชาติ |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
ธงแสดงสัญชาติสีแดง | ธงพื้นสีแดง มีรูปธงชาติอินเดียอยู่ที่มุมธงด้านคันธง | ||
ธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน | ธงเรือช่วยรบ และ ธงพาณิชยนาวีซึ่งควบคุมโดยเจ้าหน้าที่กำลังสำรองของกองทัพเรือ | ||
ธงเรือราชการ | ลักษณะคล้ายธงเรือช่วยรบ ที่ปลายธงมีสมอเรือสีเหลืองวางในแนวนอน |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
ธงแสดงสัญชาติกองทัพบกอินเดีย | ธงพื้นสีแดง มีตรากองทัพบกอินเดีย ที่มุมธงด้านคันธงมีรูปธงชาติอินเดีย | ||
ธงแสดงสัญชาติกองทัพอากาศอินเดีย | ธงพื้นสีฟ้า มีรูปธงชาติอินเดียตรงมุมบนด้านคันธง ที่ด้านปลายธง มีรูปตราวงกลมสีธงชาติ (Roundel) ของกองทัพอากาศอินเดีย | ||
ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 | ธงรัฐนาวี | ธงพื้นสีขาว กลางธงมีกางเขนสีแดง กลางรูปกางเขนนั้น เป็นภาพลายเส้นตราแผ่นดินสีทอง ที่มุมธงด้านคันธงเป็นรูปธงชาติอินเดีย | |
ตั้งแต่ พ.ศ. 2521 | ธงแสดงสัญชาติหน่วยรักษาชายฝั่ง | ธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงินอินเดีย ที่ด้านปลายธง มีตราของหน่วยรักษาชายฝั่งของอินเดีย |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
ธงหมายยศเสนาธิการกลาโหม | ธงแสดงสัญชาติสีแดง ปลายธงมีตราเสนาธิการกลาโหม | ||
กองทัพบกอินเดีย | |||
ธงหมายยศเสนาธิการทหารบก | ธงแสดงสัญชาติสีแดง ปลายธงมีตรากองทัพบก ประกอบดาวห้าแฉกสีเหลืองสี่ดวง เรียงจากบนลงล่างของชายธง | ||
ธงหมายยศรองเสนาธิการทหารบก | |||
ธงหมายยศจอมพล | ธงพื้นสีแดง กลางธงมีตราเครื่องหมายยศจอมพล ประกอบดาวห้าแฉกสีเหลืองห้าดวง เรียงตามแนวยาว | ||
ธงหมายยศพลเอก | |||
ธงหมายยศพลโท | |||
กองทัพเรืออินเดีย | |||
ธงหมายยศจอมพลเรือ (ไม่ปรากฏการใช้) | |||
ธงหมายยศพลเรือเอก (ผู้บัญชาการ และ เสนาธิการ) | |||
ธงหมายยศพลเรือโท | |||
ธงหมายยศพลเรือตรี | |||
ธงหมายยศพลเรือจัตวา | |||
ธงหมายยศนาวาเอก | |||
กองทัพอากาศอินเดีย | |||
ธงหมายยศเสนาธิการกองทัพอากาศ | |||
ธงหมายยศจอมพลอากาศ | |||
ธงหมายยศพลอากาศโท | |||
ธงหมายยศพลอากาศตรี | |||
หน่วยรักษาชายฝั่ง | |||
ธงหมายยศรองผู้บัญชาการหน่วยรักษาชายฝั่ง | |||
ธงหมายยศผู้ตรวจการใหญ่หน่วยรักษาชายฝั่ง | |||
ตำรวจอินเดีย |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
พ.ศ. 1879 - 2189 | ธงจักรวรรดิวิชัยนคร | ธงพื้นสีเหลือง มีรูปพระอาทิตย์ พระจันทร์เสี้ยว ประกอบกับดาบสั้นเอาปลายแหลมลง และ รูปหมูป่า | |
พ.ศ. 2069 - 2400 | ธงจักรวรรดิโมกุล | ธงพื้นสีเขียว มีรูปพระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง[ต้องการอ้างอิง] | |
พ.ศ. 2217 - 2361 | ธงจักรวรรดิมราฐา | ธงหางนกแซงแซวพื้นสีแสด | |
พ.ศ. 2342 - 2392 | ธงจักรวรรดิซิกข์ (จักวรรดิของศาสนาซิกข์) | ธงสามเหลี่ยมมุมฉากพื้นสีเหลืองทอง ภายในมีสัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ "ขันธา |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
พ.ศ. 2428 - 2490 | ผ้สำเร็จราชการแห่งบริติชอินเดีย | ธงยูเนี่ยนแจ็ค กลางธงมีรูปตราดาราแห่งภารตะภายใต้มงกุฎแห่งอินเดีย | |
พ.ศ. 2490 - 2493 | ธงพื้นสีนำเงิน กลางธงมีรูปสิงโตเหยียบมงกุฎทิวดอร์ ใต้รูปมีแถบแพรโบว์ริบบิ้นสีเหลืองพร้อมชื่อนามของประเทศ | ||
พ.ศ. 2406 - 2490 | ธงเรือรัฐบาลอินเดีย ใช้ทั่วไปในช่วงสงครามโลก | ธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน มีรูปดาราแห่งภารตะที่ด้านปลายธง | |
พ.ศ. 2423 - 2490 | ธงเรือเอกชนอินเดีย ใช้ในเวทีกิจกรรมนานาชาติ | ธงแสดงสัญชาติสีแดง มีรูปดาราแห่งภารตะที่ด้านปลายธง |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
พ.ศ. 2449 | ธงเมืองกัลกัตตา | ธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีแสด-เหลือง-เขียว ในแถบสีแสดมีรูปดอกบัวบาน 8 ดอก แถบสีเขียวมีรูปดวงอาทิตย์และดวงจันทร์กับดาวหนึ่งดวง ส่วนแถบกลางสีเหลืองนั้นจารึกข้อความภาษาฮินดี อักษรเทวนาครีว่า "वन्दे मातरम्" (วันเท มาตะรัม - Vande Mataram - แปลว่า น้อมเศียรเกล้าแด่มารดาแห่งอินเดีย) ธงนี้นับเป็น 1 ในธงชาติอย่างไม่เป็นทางการแบบแรกสุด ของอินเดียในอดีตด้วย | |
พ.ศ. 2450 | ธงของขบวนการชาตินิยมอินเดีย | ลักษณะเดียวกับธงประจำเมืองธงกัลกัตตา โดยแถบสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีเขียว-เหลือง-แดง (บางผืนเป็นธงแถบด้านบนสีน้ำเงิน) | |
พ.ศ. 2460 | ธงขบวนการปกครองตนเองของอินเดีย (Home Rule Movement) | ธงหางนกแซงแซว พื้นเป็นริ้วสีแดง 5 ริ้ว สลับด้วยริ้วสีเขียว 4 ริ้ว ที่มุมธงด้านคันธงเป็นรูปธงชาติสหราชอาณาจักร หมายถึง การยอมรับว่า ยังอยู่ภายในอาณัติการปกครองของสหราชอาณาจักร ในพื้นสีแดงสลับเขียวนั้น มีรูปดวงจันทร์เสี้ยวกับดาวหนึ่งดวงที่มุมบนด้ายปลายธง ตอนล่างเป็นรูปดาวสีขาว 7 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวหมีใหญ่ ซึ่งในอินเดียนั้นเรียกว่า กลุ่มดาวสัปตฤๅษี รูปดาวกลุ่มนี้ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่าเป็นรูปกลุ่มดาวศักดิ์สิทธิ์ | |
พ.ศ. 2464 | ธงประจำตัวของมหาตมา คานธี, ใช้โดยพรรคคองเกรสแห่งอินเดีย ในระหว่างการประชุมพรรค | ธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีขาว-เขียว-แดง กลางแถบสีขาวเป็นกงล้อเข็นฝ้าย | |
พ.ศ. 2485 - 2488 | ธงรัฐบาลเฉพาะกาลของขบวนการอินเดียเสรี (Provisional Government of Free India) | ธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีแสด-ขาว-เขียว กลางแถบสีขาวเป็นกงล้อเข็นฝ้าย เดิมธงนี้ใช้เป็นธงคองเกรสแห่งอินเดีย พ.ศ. 2474 สามารถใช้สลับกันกับธงขบวนการอาซาดฮินด์ได้เช่นกัน | |
ธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีแสด-ขาว-เขียว กลางแถบสีขาวเป็นรูปเสือเผ่น ธงนี้ใช้เป็นสัญลักษณ์ของขบวนการอาซาดฮินด์ (Azad Hind Movement) ซึ่งเป็นขบวนการหัวรุนแรง ฝ่ายตรงข้ามกับกลุ่มที่มีแนวคิดสันติแบบคานธี ซึ่งสามารถใช้สลับกันกับธงคองเกรสแห่งอินเดีย พ.ศ. 2474 ได้ |
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
กองทัพเรืออินเดีย | |||
พ.ศ. 2544 - 2547 | ธงหมายยศจอมพลเรือ (ไม่ปรากฏการใช้) | ||
ธงหมายยศพลเรือเอก (ผู้บัญชาการ และ เสนาธิการ) | |||
ธงหมายยศพลเรือโท | |||
ธงหมายยศพลเรือตรี | |||
ธงหมายยศพลเรือจัตวา | |||
ธงหมายยศนาวาเอก | |||
กองทัพอากาศอินเดีย | |||
พ.ศ. 2493 - 2523 | ธงหมายยศจอมพลอากาศ | ||
ธงหมายยศพลอากาศเอก | |||
ธงหมายยศพลอากาศโท | |||
ธงหมายยศพลอากาศตรี | |||
ธงหมายยศพลอากาศจัตวา | |||
ธงหมายยศนาวาอากาศเอก | |||
ธงหมายยศนายเรืออากาศ | |||
ธงหมายยศผู้บังคับการกองบิน |