รายชื่อเครื่องยนต์อีซูซุ

อีซูซุใช้ทั้งเครื่องยนต์ที่ผลิตขึ้นเองและที่ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ นอกจากนี้ยังเป็นผู้ผลิตเครื่องยนต์ให้แก่บริษัทรถยนต์ชั้นนำระดับโลกหลายแห่ง อาทิ เจเนอรัล มอเตอร์, เรโนลต์, ซ้าบ, ฮอนด้า, นิสสัน, โอเปิล, โตโยต้า และมาสด้า

ภาพรวม

[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุมีรหัสนำหน้าสองตัวอักษร ซึ่งใช้ระบุจำนวนกระบอกสูบและตระกูลของเครื่องยนต์ เครื่องยนต์ที่มีจำหน่ายในปัจจุบันประกอบด้วย:

จำนวนสูบ ตระกูล ความจุ กำลัง หมายเหตุ
3 C 0.57–1.6 L (34.8–97.6 cu in) 11.8–23.9 hp (8.8–17.8 kW)
4 L 2.179 L (133.0 cu in) 40–62 hp (30–46 kW)
4 J 2.999 L (183.0 cu in) 70–115 hp (52–86 kW)
4 B 4.3 L (262.4 cu in) 98–111 hp (73–83 kW)
6 6.5 L (396.7 cu in) 154–174 hp (115–130 kW)
4 H 5.193 L (316.9 cu in) 173–188 hp (129–140 kW) มีจำหน่ายในรูปแบบเครื่องยนต์ LP/CNG (4HV1)[1][2]
6 7.790 L (475.4 cu in) 282 hp (210 kW)
6 U 9.839 L (600.4 cu in) 362 hp (270 kW)
6 W 15.681 L (956.9 cu in) 512 hp (382 kW)

2 สูบ

[แก้]

ดีเซล

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ระยะชัก ความจุ กำลัง ปีที่ผลิต (ค.ศ.) น้ำหนัก
2AA1 มีรุ่นสามกระบอกสูบเรียกว่า 3AA1 ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง Bosch รุ่น PES-K นั้นใช้ร่วมกันกับเครื่องยนต์รุ่น 2AB1 และมีความคล้ายคลึงกับปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงรุ่น PES-A ที่ใช้ในเครื่องยนต์รุ่น 3AA1, 3AB1, C220 และ C240[3] 86 mm (3.4 in) 84 mm (3.3 in) 975 cc (59.5 cu in) 19.5 PS (14.3 kW) @2800rpm 1972-1989 160 kg (350 lb)[4]
2AB1 มีรุ่นสามกระบอกสูบ เรียกว่า 3AB1 86 mm (3.4 in) 106 mm (4.2 in) 1,184 cc (72.3 cu in) 25.5 PS (18.8 kW) @2800rpm 1970-1991 160 kg (350 lb)[5]
UM-2AB1 เป็นเครื่องยนต์ 2AB1 ที่ดัดแปลงเพื่อใช้งานในงานทางทะเล 86 mm (3.4 in) 106 mm (4.2 in) 1,184 cc (72.3 cu in) 1971-1991
2CA1 Klassen Engines เป็นผู้ผลิตเครื่องยนต์รุ่น Suzie 14 ซึ่งดัดแปลงเพื่อใช้ในงานทางทะเล 653 cc (39.8 cu in) 1983
2KC1 74 mm (2.9 in) 76 mm (3.0 in) 653 cc (39.8 cu in) 1988-1994
UM-2KC1 เป็นเครื่องยนต์ 2KC1 ที่ดัดแปลงสำหรับใช้งานทางทะเล โดยบริษัท Beta Marine Limited ได้ดำเนินการดัดแปลงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 74 mm (2.9 in) 76 mm (3.0 in)

3 สูบ

[แก้]

ดีเซล

[แก้]

เครื่องยนต์ตระกูล A

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ระยะชัก ความจุ กำลัง ปีที่ผลิต (ค.ศ.) น้ำหนักแห้ง
3AA1 มีขนาดกระบอกสูบและระยะชักเท่ากับเครื่องยนต์ดีเซลสี่สูบรุ่น C190 และเครื่องยนต์สองสูบรุ่น 2AA1 ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง Bosch PES-A นั้นเป็นรุ่นเดียวกับที่ใช้ในเครื่องยนต์รุ่น 3AA1, 3AB1, C220 และ C240[3] 86 mm (3.4 in) 84 mm (3.3 in) 1,463 cc (89.3 cu in) 29.5 PS (21.7 kW) @2800rpm 1972-90 197 kg (434 lb).[6]
3AB1 มีขนาดกระบอกสูบเท่ากับเครื่องยนต์รุ่น 2AA1/3AA1/C240 แต่มีระยะชักยาวกว่ามาก นอกจากนี้ยังมีรุ่นที่เป็นเครื่องยนต์สองสูบเรียกว่า 2AB1 86 mm (3.4 in) 102 mm (4.0 in) 1,777 cc (108.4 cu in) 38 PS (28 kW) @2800rpm 1971- 217 kg (478 lb).[7]
3AD1 1977-90
3AD1-T 1978-79

เครื่องยนต์ตระกูล L[8]

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ระยะชัก ความจุ กำลัง ปีที่ผลิต น้ำหนักแห้ง
3LA1
3LB1 OHV
3LD1 OHV
3LD1 OHV

4 สูบ

[แก้]

เบนซิน

[แก้]

เครื่องยนต์ตระกูล GH

[แก้]

เครื่องยนต์เบนซินรุ่นแรกของอีซูซุผลิตภายใต้ลิขสิทธิ์จาก Hillman โดยใช้ในรถยนต์ Minx ที่ประกอบขึ้นในประเทศตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 เรียกว่า GH10 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกระบอกสูบ 65 มิลลิเมตร (2.56 นิ้ว) และช่วงชัก 95 มิลลิเมตร (3.74 นิ้ว) ส่งผลให้มีปริมาตรกระบอกสูบทั้งหมด 1,260 ลูกบาศก์เซนติเมตร (76.9 ลูกบาศก์นิ้ว) ให้กำลังสูงสุด 37.5 metric horsepower (28 กิโลวัตต์) ในปี ค.ศ. 1955 ได้มีการปรับปรุงรุ่นนี้เป็น GH12 ซึ่งมีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบและช่วงชัก 76.2 มิลลิเมตร ส่งผลให้มีปริมาตรกระบอกสูบ 1,390 ลูกบาศก์เซนติเมตร (84.8 ลูกบาศก์นิ้ว) ในปี ค.ศ. 1956 เครื่องยนต์ดังกล่าวได้รับการปรับปรุงเพื่อเพิ่มกำลังสูงสุดเป็น 46 metric horsepower (34 กิโลวัตต์) จากเดิมที่ 43 metric horsepower (32 กิโลวัตต์), และตั้งชื่อใหม่ว่า GH100 ต่อมาในปี ค.ศ. 1958 กำลังของเครื่องยนต์ก็เพิ่มขึ้นอีกครั้งเป็น 50 metric horsepower (37 กิโลวัตต์)[9]

เครื่องยนต์ตระกูล GL

[แก้]

ในปี ค.ศ. 1959 อีซูซุได้พัฒนาเครื่องยนต์เบนซินรุ่นแรกของตนเองขึ้นมาโดยใช้รหัส GL150 มีลักษณะเด่นคือการออกแบบให้มีขนาดกระบอกสูบและช่วงชักเท่ากันที่ 78 มิลลิเมตร (3.07 นิ้ว)[10] แม้จะยังคงเห็นเค้าโครงดั้งเดิมของ Hillman อย่างชัดเจน เครื่องยนต์นี้มีความจุ 1,491 ลูกบาศก์เซนติเมตร (91.0 ลูกบาศก์นิ้ว) และให้กำลังสูงสุด 60 metric horsepower (44 กิโลวัตต์)[9] ได้รับการติดตั้งใน Isuzu Elf รุ่นปี 1959 และ Bellel รุ่นปี 1961

เจเนรัลมอเตอร์

[แก้]
  • Isuzu Hombre ใช้เครื่องยนต์ Vortec 2200 ซึ่งผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ มีกำลังสูงสุด 118 แรงม้า (86 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 140 ฟุต-ปอนด์ (190 นิวตันเมตร)
  • Isuzu i-Series รุ่นปี ค.ศ. 2004–2006 ใช้เครื่องยนต์ Vortec 2800 ซึ่งผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ มีกำลังสูงสุด 175 แรงม้า (130 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 185 ฟุต-ปอนด์ (251 นิวตันเมตร)
  • Isuzu i-Series รุ่นปี ค.ศ. 2007–2008 ใช้เครื่องยนต์ Vortec 2900 ซึ่งผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ มีกำลังสูงสุด 185 แรงม้า (138 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 195 ปอนด์-ฟุต (263 นิวตันเมตร)

เครื่องยนต์อีซูซุ G

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
G130 ถูกใช้ใน Isuzu Bellett, Bellett B, และ Bellett Express 75 mm (3.0 in) 75 mm (3.0 in) 1,325 cc (80.9 cu in) 58 PS (43 kW)[11] OHV
G140 เครื่องยนต์รหัส G140 ขนาด 1.4 ลิตร ถูกใช้ใน Chevrolet Chevette ในตลาดอเมริกาเหนือ โดยเสื้อสูบและส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องสำหรับเครื่องยนต์อีซูซุ G ในตลาดสหรัฐอเมริกา ได้รับการผลิตภายใต้ใบอนุญาตจากโรงงานหล่อและประกอบเครื่องยนต์ของเจเนรัล มอเตอร์ ในเมืองฟลินต์ รัฐมิชิแกน สำหรับตลาดอเมริกาใต้ ได้มีการปรับเปลี่ยนเป็นรุ่น OHV และพัฒนาต่อมาเป็นรุ่น 1,599 ซีซี โดยมีช่วงชัก 75.7 มิลลิเมตร[12] 82 mm (3.2 in) 66.2 mm (2.61 in) 1,398 cc (85.3 cu in) 53 PS (39 kW) [ต้องการอ้างอิง] OHV
G150 เครื่องยนต์รหัส G150 ขนาด 1.5 ลิตร ถูกใช้ Isuzu Bellett และ Isuzu Elf 79 mm (3.1 in) 75 mm (3.0 in) 1,471 cc (89.8 cu in) 68 PS (50 kW) [ต้องการอ้างอิง] OHV
G160/G161 เครื่องยนต์รหัส G160/G161 ขนาด 1.6 ลิตร 8 วาล์ว ถูกใช้ใน Isuzu Florian และ Isuzu Bellett GT รวมถึงรถเพื่อการพาณิชย์หลายรุ่น เช่น Elf 150 ( KA41/51) รุ่น G160 มีรองลื่นหลักสามจุดรองรับส่วนรุ่น G161 รองลื่นหลักห้าจุด นอกจากนี้ยังมีรุ่น G161S ซึ่งเป็นเครื่องยนต์แบบเพลาลูกเบี้ยวเดี่ยวเหนือสูบ (Single Overhead Camshaft) ถูกใช้ใน Isuzu Florian และ Bellett

เครื่องยนต์รุ่นใหม่ที่มีขนาดเท่ากันนี้เรียกว่า G161Z และถูกติดตั้งใน Isuzu Florian, Isuzu Gemini, Holden Gemini, Holden Rodeo, และ Chevrolet Chevette เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องยนต์ตระกูล Z ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น 4ZA1 พัฒนาการที่สำคัญ (แม้จะเกิดขึ้นก่อนหน้านี้) คือรุ่น G161W เป็นแบบเพลาลูกเบี้ยวคู่ (ยังคงใช้วาล์ว 8 ตัว) เปิดตัวครั้งแรกใน Isuzu Bellett GT-R ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1968[13]

82 mm (3.2 in) 75.7 mm (2.98 in) 1,599 cc (97.6 cu in) 61 PS (45 kW) [ต้องการอ้างอิง] OHV
G180 เครื่องยนต์รหัส G180SS ขนาด 1.8 ลิตร ถูกใช้ใน Isuzu Bellett GT เครื่องยนต์รหัส G180Z SOHC ขนาด 1.8 ลิตร ถูกใช้ใน Opel Kadett รุ่นปี ค.ศ. 1972–1976, Isuzu Gemini, Chevrolet LUV และ Isuzu 117 Coupé นอกจากนี้ยังมีเครื่องยนต์รหัส G180W DOHC 8 วาล์ว ซึ่งถูกใช้ใน Isuzu Gemini ZZ (จำหน่ายเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น) และ Isuzu 117 Coupé 84 mm (3.3 in) 82 mm (3.2 in) 1,818 cc (110.9 cu in) 78–80 hp (79–81 PS; 58–60 kW) @4800rpm
95 lb·ft (129 N·m) @3000rpm
SOHC
G200 เครื่องยนต์รหัส G200Z ขนาด 2.0 ลิตร ถูกนำมาใช้ใน Checvolet LUV รุ่นปี ค.ศ. 1981–1985 รวมถึง Isuzu Trooper (หรือ Holden Jackaroo ในประเทศออสเตรเลีย) เมื่อใช้คาร์บูเรเตอร์ เครื่องยนต์จะมีกำลัง 86 แรงม้า แต่เมื่อใช้ระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ใน Isuzu Piazza กำลังจะเพิ่มขึ้นเป็น 90 แรงม้าในสหรัฐ และ 110 แรงม้าในญี่ปุ่น

เครื่องยนต์รหัส G200W DOHC 8 วาล์ว ถูกใช้ใน Isuzu 117 Coupé และ Isuzu Piazza รุ่นแรกในตลาดญี่ปุ่น ระหว่างปี ค.ศ. 19??–1985 มีกำลัง 135 แรงม้า และแรงบิด 123 ฟุต-ปอนด์ นอกจากนี้ยังถูกติดตั้งใน GMC S-15 ระหว่างปี ค.ศ. 1982–1985 โดยใช้รหัสเครื่องยนต์ LR1[14] เครื่องยนต์ G200 นั้นถูกนำเข้ามาจากต่างประเทศ ไม่เหมือนกับเครื่องยนต์ขนาด 1.4 ลิตรที่ผลิตในประเทศ มันยังถูกใช้ใน LUV รุ่นที่สอง และ Isuzu P'UP จนกระทั่ง GM หยุดใช้มันเป็นเครื่องยนต์เริ่มต้น เมื่อเครื่องยนต์ Iron Duke ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องยนต์พื้นฐานหลังปี ค.ศ. 1985; S10/S15 บางรุ่นในช่วงแรกมาพร้อมกับเครื่องยนต์ GM 122 ที่ใช้ร่วมกับรถ J-platform compacts เนื่องจากผลิตในประเทศ

87 mm (3.4 in) 82 mm (3.2 in) 1,949 cc (118.9 cu in) 82 hp (83 PS; 61 kW) @4600rpm
101 lb·ft (137 N·m) @3000rpm
SOHC
G201 เครื่องยนต์เบนซิน 4 สูบเรียง ขนาด 2.0 ลิตรนี้ เป็นรุ่นที่ใช้เชื้อเพลิงเบนซินของเครื่องยนต์ดีเซลรุ่น C190 มีอัตราส่วนกำลังอัด 8.0:1 และถูกติดตั้งใน Isuzu Elf 250 (TLG42) บางรุ่น 86 mm (3.4 in) 84 mm (3.3 in) 1,951 cc (119.1 cu in) 93 PS (68 kW) at 4800 rpm
16.0 kg·m (157 N·m; 116 lb·ft) at 3000 rpm[15]
SOHC

เครื่องยนต์อีซูซุ X

[แก้]
เครื่องยนต์ 4XE1 DOHC ประจำอยู่ใน Isuzu Stylus รุ่นปี ค.ศ. 1991 ซึ่งเป็นรุ่นที่จำหน่ายในตลาดสหรัฐ โดยมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Gemini
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
4XB1 เครื่องยนต์รหัส 4XB1 ขนาด 1.3 ลิตร ถูกติดตั้งใน Isuzu Gemini JT140 รุ่นส่งออกไปจำหน่ายในตลาดต่างประเทศ 72.3 mm (2.85 in) 79 mm (3.11 in) 1,297 cc (79.1 cu in) 72 PS (53 kW) DIN ที่ 5400 rpm[16] SOHC
4XC1 เครื่องยนต์รหัส 4XC1 SOHC ขนาด 1.5 ลิตร เป็นเครื่องยนต์พื้นฐานสำหรับ Isuzu Gemini FF, Isuzu Piazza JT22 Series และ Chevrolet Spectrum ที่พัฒนามาจากรุ่นดังกล่าว กำลังของเครื่องยนต์มีตั้งแต่ 70 แรงม้า (52 กิโลวัตต์) ในรุ่นที่ผลิตสำหรับสหรัฐ ไปจนถึง 76 แรงม้า (56 กิโลวัตต์) ในรุ่นยุโรปที่ไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา และสูงสุดถึง 120 แรงม้า (88 กิโลวัตต์) ในรุ่นเทอร์โบชาร์จ (ลดลงเหลือ 110 แรงม้า ตามมาตรฐาน SAE ในสหรัฐ)[17] รุ่นต่อมาได้รับการติดตั้งฝาสูบแบบ 12 วาล์ว ซึ่งเมื่อนำไปติดตั้ง Isuzu Gemini JT150 สามารถให้กำลังสูงสุด 100 แรงม้า (74 กิโลวัตต์) ที่ 6,000 รอบต่อนาที[18] 77 mm (3.0 in) 1,471 cc (89.8 cu in) SOHC
4XE1-V เครื่องยนต์รหัส 4XE1-V ขนาด 1.6 ลิตร ถูกใช้ใน Geo Storm รุ่นเริ่มต้น และ Isuzu Stylus S 80 mm (3.15 in) 1,588 cc (96.9 cu in) 96 hp (72 kW; 97 PS) SOHC
4XE1-UW เครื่องยนต์รหัส 4XE1-UW ขนาด 1.6 ลิตร ถูกนำไปติดตั้งใน Isuzu Impulse XS และ Isuzu Stylus XS รุ่นปี ค.ศ. 1990–91 รวมถึง Geo Strom GSi ในรุ่นปีเดียวกัน และ M100 Lotus Elan 130 hp (97 kW; 132 PS)
140 PS (103 kW) ในสเปกญี่ปุ่น
DOHC 16 วาล์ว[19]
4XE1WT เครื่องยนต์เทอร์โบขนาด 1.6 ลิตร รหัส 4XE1WT ถูกใช้ใน M100 Lotus Elan, Isuzu Impulse RS, และ Isuzu Stylus RS รุ่นปี ค.ศ. 1991 รวมถึง Isuzu Gemini สำหรับตลาดภายในประเทศญี่ปุ่น 160 hp (119 kW; 162 PS)
180 PS (132 kW) ในสเปกญี่ปุ่น[20]
DOHC 16 วาล์ว
4XF1 เครื่องยนต์ขนาด 1.8 ลิตร รหัส 4XF1 ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์รหัส 4XE1 ในตลาดอเมริกาเหนือ ถูกติดตั้งในใน Geo Storm GSi รุ่นปี ค.ศ. 1992–93, Isuzu Stylus RS รุ่นปี ค.ศ. 1992 และ Asüna Sunfire ในญี่ปุ่น เครื่องยนต์ดังกล่าวถูกติดตั้งใน Isuzu Piazza ซึ่งให้กำลังสูงสุด 150 แรงม้า (110 กิโลวัตต์)[20] 90 mm (3.54 in) 1,809 cc (110.4 cu in) 140 hp (142 PS; 104 kW)
125 lb·ft (169 N·m)
DOHC 16 วาล์ว

เครื่องยนต์อีซูซุ Z

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
4ZA1 เครื่องยนต์ขนาด 1.6 ลิตร รหัส 4ZA1 มีพื้นฐานมาจากเครื่องยนต์ G161 82 mm (3.2 in) 75 mm (3.0 in) 1,584 cc (96.7 cu in) SOHC
4ZB1 เครื่องยนต์ขนาด 1.8 ลิตร รหัส 4ZB1 ถูกติดตั้งใน Isuzu Fargo รุ่นปี ค.ศ. 1981–85 ซึ่งเป็นการพัฒนามาจากเครื่องยนต์ G180 นอกจากนี้เครื่องยนต์รุ่นดังกล่าวยังได้รับการผลิตโดยบริษัท Hindustan Motors ในประเทศอินเดีย ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา โดยเข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ G180Z 84 mm (3.3 in) 82 mm (3.2 in) 1,817 cc (110.9 cu in) 88 PS (65 kW) SOHC 8 วาล์ว
4ZC1 เครื่องยนต์ขนาด 2.0 ลิตร รหัส 4ZC1 ถูกติดตั้งใน Isuzu Fargo ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1986 เป็นต้นมา มีกำลังสูงสุด 94 แรงม้า (69 กิโลวัตต์) และยังถูกนำไปติดตั้งใน Isuzu Aska ให้กำลังสูงสุด 110 แรงม้า (81 กิโลวัตต์) ตามมาตรฐาน JIS สำหรับรุ่นส่งออกระบุกำลังสูงสุดไว้ที่ 100 แรงม้า (74 กิโลวัตต์) นอกจากนี้ยังมีรุ่นเทอร์โบชาร์จเจอร์ รหัส 4ZC1-T ให้กำลังสูงสุด 150 แรงม้า (110 กิโลวัตต์) พบได้ใน Isuzu Piazza และ Isuzu Aska 88 mm (3.5 in) 82 mm (3.2 in) 1,994 cc (121.7 cu in) SOHC 8 วาล์ว
4ZD1 เครื่องยนต์ขนาด 2.3 ลิตร รหัส 4ZD1 ถูกติดตั้งใน Isuzu Pickup, MU/Wizard/Rodeo/Amigo และ Trooper กำลังสูงสุดของเครื่องยนต์ใน Amigo/MU อยู่ที่ 96 แรงม้า (72 กิโลวัตต์) ในขณะที่ Trooper รุ่นส่งออก (ระบบจ่ายเชื้อเพลิงแบบคาร์บูเรเตอร์) มีกำลังสูงสุดอยู่ที่ 110 แรงม้า (81 กิโลวัตต์) และ Isuzu Piazza รุ่นปี 1988–89 ที่จำหน่ายในตลาดสหรัฐ ได้รับการติดตั้งเครื่องยนต์รุ่นนี้ที่ใช้ระบบจ่ายเชื้อเพลิงแบบหัวฉีดหลายจุด (MPFi) พร้อมกำลังสูงสุด 110 แรงม้า (82 กิโลวัตต์) ที่ 5,000 รอบต่อนาที[21] 89.3 mm (3.52 in) 90 mm (3.54 in) 2,255 cc (137.6 cu in) SOHC 8 วาล์ว
4ZE1 เครื่องยนต์ขนาด 2.6 ลิตร รหัส 4ZE1 ถูกนำมาใช้เป็นตัวเลือกในการทดแทนเครื่องยนต์ 4ZD1 ในรุ่นขับเคลื่อนสี่ล้อ โดยติดตั้งใน Isuzu MU/Wizard/Rodeo/Amigo, Trooper และ Pickup ในรุ่นต่อมาขนาดกระบอกสูบและปริมาตรกระบอกสูบได้ถูกขยายออกเล็กน้อย 92.6 mm (3.65 in)
93.0 mm (3.66 in)
95.0 mm (3.74 in) 2,559 cc (156.2 cu in)
2,581 cc (157.5 cu in)
115–122 PS (85–90 kW) SOHC 8 วาล์ว

ดีเซล

[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ B

[แก้]

อีซูซุจัดให้เครื่องยนต์ตระกูล B เป็นเครื่องยนต์สำหรับรถบรรทุกขนาดเล็ก เดิมทีได้มีการออกแบบเครื่องยนต์ในปี ค.ศ. 1969 โดยมีขนาดความจุ 3.6 ลิตร 4 สูบ หรือ 5.4 ลิตร 6 สูบ พร้อมระบบฉีดเชื้อเพลิงตรง ต่อมาจึงมีการเพิ่มขนาดความจุของเครื่องยนต์ในรุ่นต่อ ๆ มา[22] และในปี ค.ศ. 1980 ได้มีการเปิดตัวเครื่องยนต์รุ่น 3.3 ลิตร

รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
4BA1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 2.8 ลิตร ติดตั้งอยู่ใน Isuzu Elf หลายรุ่น 98 mm (3.9 in) 92 mm (3.6 in) 2,775 cc (169.3 cu in) 75 PS (55 kW)
165 N·m (122 lb·ft) ที่ 2,200 รอบต่อนาที
4BB1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรง ติดตั้งใน Isuzu Elf และ KT รุ่นปี ค.ศ. 1973–79 โดยเป็นเครื่องยนต์ 4 สูบที่พัฒนามาจากเครื่องยนต์ 6BB1 102 mm (4.0 in) 110 mm (4.3 in) 3,595 cc (219.4 cu in) 80 ถึง 100 PS (59 ถึง 74 kW) ที่ 3,300–3400 รอบต่อนาที
265 N·m (195 lb·ft) ที่ 2,000 รอบต่อนาที
4BC1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 3.3 ลิตร ติดตั้งใน Isuzu Elf รุ่นปี ค.ศ. 1980–1982 100 mm (3.9 in) 3,268 cc (199.4 cu in) 85 PS (63 kW)
175 N·m (129 lb·ft) ที่ 2,500 รอบต่อนาที
4BC2 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 3.3 ลิตร เป็นรุ่นฉีดตรงของเครื่องยนต์ 4BC1 ถูกติดตั้งใน Isuzu ELF และ NPR รุ่นปี ค.ศ. 1982–87 90 PS (66 kW) ที่ 3,500 รอบต่อนาที
200 N·m (148 lb·ft) ที่ 2,000 รอบต่อนาที
4BD1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรง ขนาด 3.9 ลิตร ติดตั้งใน Isuzu ELF รวมถึงการใช้งานทางทะเลและอุตสาหกรรมต่าง ๆ มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1979 มีกำลังขับเคลื่อนที่แตกต่างกันไป รุ่นปี ค.ศ. 1979 มีกำลังสูงสุด 87 แรงม้า (64 กิโลวัตต์) ที่ 3,200 รอบต่อนาที ในขณะที่รุ่นปี ค.ศ. 1988 มีกำลังสูงสุด 113 แรงม้า (83 กิโลวัตต์) ที่ 3,200 รอบต่อนาที พร้อมแรงบิดสูงสุด 270 นิวตันเมตร (200 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,900 รอบต่อนาที เครื่องยนต์ OEM ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานของประเทศออสเตรเลีย ถูกติดตั้งใน Land Rover SIII Stage 1 และรุ่นที่ใช้สปริงคอยล์ยกสูง 110, 120 และ Land Rover Perentie รุ่นปี ค.ศ. 1981–92 118 mm (4.6 in) 3,856 cc (235.3 cu in)
4BD1T เป็นรุ่นเทอร์โบชาร์จของเครื่องยนต์ 4BD1 ขนาด 3.9 ลิตร ผลิตขึ้นในปี ค.ศ. 1985 และติดตั้งใน Isuzu NPR ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1986 เพื่อจำหน่ายในสหรัฐ เครื่องยนต์ดีเซล OEM ตามมาตรฐานของประเทศออสเตรเลีย ติดตั้งใน Land Rover Perentie 6×6 รุ่นปี ค.ศ. 1989–92 รุ่นที่แตกต่างกันมีกำลังสูงสุดอยู่ในช่วงตั้งแต่ 90 ถึง 100 กิโลวัตต์ (122 ถึง 136 PS; 121 ถึง 134 แรงม้า) แรงบิดสูงสุดมีค่าตั้งแต่ 314 ถึง 330 นิวตันเมตร (หรือ 232 ถึง 243 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที นอกจากนี้ยังติดตั้งในรถจี๊ปนีย์ที่ผลิตขึ้นในจังหวัดบาตังกัสด้วย
4BD2T เป็นรุ่นฉีดอ้อมของเครื่องยนต์ 4BD1T มีอินเตอร์คูลเลอร์ เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4BD1T ในตลาดสหรัฐจนถึงปี ค.ศ. 1998 100 kW (136 PS) ที่ 3,000 รอบต่อนาที
345 N·m (254 lb·ft) ที่ 2,000 รอบต่อนาที
4BE1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรงขนาด 3.6 ลิตร ที่มีกำลังสูงที่รอบสูง ใช้ปั๊มเชื้อเพลิง VE-Rotary Zexel เครื่องยนต์รุ่นนี้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4BC2 ใน Isuzu NPR ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987 สำหรับรุ่นไม่มีเทอร์โบ ส่วนอีกรุ่นหนึ่งใช้ปั๊มเชื้อเพลิง Diesel Kiki A-type ซึ่งให้รอบเครื่องไม่สูงเท่ารุ่นใช้ปั๊ม Rotary สำหรับรุ่นใช้ปั๊ม VE-Rotary (NKR300) จะให้กำลังสูงสุด 100 แรงม้า (74 กิโลวัตต์) ที่ 3,800 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 242 นิวตันเมตร (178 ปอนด์-ฟุต) ที่ 2,000 รอบต่อนาที 105 mm (4.1 in) 105 mm (4.1 in) 3,636 cc (221.9 cu in)
4BG1 เป็นเครื่องยนต์อุตสาหกรรมและทางทะเลขนาด 4.3 ลิตร ฉีดตรง ไม่มีเทอร์โบ ส่วนรุ่นมีเทอร์โบจะใช้รหัส 4BG1T มีกำลังสูงสุดสำหรับใช้งานทางทะเลอยู่ที่ 200 แรงม้า (147 กิโลวัตต์) 125 mm (4.9 in) 4,329 cc (264.2 cu in)

เครื่องยนต์อีซูซุ C

[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุตระกูล C นับเป็นกำลังสำคัญในการผลิตรถกระบะขนาดเล็ก รวมถึงการใช้งานในภาคอุตสาหกรรมและภาคการเดินเรือ เครื่องยนต์รุ่นนี้เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1959 และภายในปี ค.ศ. 1985 ก็มีการผลิตไปแล้วมากกว่า 2 ล้านเครื่อง[22] ก่อนจะถูกแทนที่ด้วยเครื่องยนต์ตระกูล J ที่มีขนาดใหญ่กว่าในปีนั้น

รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
C180 ถูกติดตั้งใน Isuzu Bellett, Bellett B, Express, และ Wasp[11] 79 mm (3.1 in) 90 mm (3.5 in) 1,764 cc (107.6 cu in) 50 PS (37 kW)[23] OHV 8 วาล์ว
C190 เป็นเครื่องยนต์ขนาด 2.0 ลิตร ที่ใช้ใน Isuzu Faster/Holden Rodeo, Isuzu Florian และ Isuzu KB นอกจากนี้ยังถูกติดตั้งใน Delta Mini Cruiser สำหรับตลาดยุโรป และยังถูกติดตั้งในรุ่นขนาดเล็กของ Isuzu ELF และ Isuzu Journey-S เครื่องยนต์นี้ถูกเรียกว่า 4AA1 สำหรับการใช้งานทางอุตสาหกรรมและทางทะเล และยังมีรุ่นที่ใช้เชื้อเพลิงเบนซินเรียกว่า G201 FA 86 mm (3.4 in) 84 mm (3.3 in) 1,951 cc (119.1 cu in) 62 PS (46 kW) ที่ 4,400 รอบต่อนาที OHV 8 วาล์ว
C220
C221
C223
เป็นเครื่องยนต์ขนาด 2.2 ลิตร ให้กำลัง 58 แรงม้า และแรงบิด 93 ปอนด์-ฟุต ถูกใช้ใน Chevrolet LUV รุ่นปี ค.ศ. 1981–82 และ Isuzu P'up รุ่นปี ค.ศ. 1981–87 เจเนรัลมอเตอร์สยังใช้เครื่องยนต์ C220 เป็นตัวเลือก (รหัส ROP LQ7) ใน Chevrolet S10/GMC S15 เนื่องจากความต้องการต่ำ ทำให้เครื่องยนต์นี้ถูกยกเลิกการผลิตหลังจากรุ่นปี ค.ศ. 1985 โดย S-series รุ่นต่อมาใช้เครื่องยนต์เบนซิน เครื่องยนต์ C220 ยังถูกใช้ใน Isuzu 117 Coupé XD/XDL รุ่นปี ค.ศ. 1979-81 ซึ่งเป็นหนึ่งในรถสปอร์ตคันแรกที่ติดตั้งเครื่องยนต์ดีเซล ใน 117 Coupé กำลังสูงสุดตามมาตรฐาน JIS เพิ่มขึ้นเป็น 73 แรงม้า (54 กิโลวัตต์) ที่ 4,300 รอบต่อนาที[24] เครื่องยนต์รุ่นนี้พัฒนาต่อยอดจากเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 2 ลิตร รหัส DL201 โดยมีการขยายขนาดกระบอกสูบให้ใหญ่ขึ้น ปรากฏครั้งแรกใน Isuzu Elf รุ่นปี ค.ศ. 1964 ในรหัส C220 โดยให้กำลังสูงสุด 62 แรงม้า ต่อมาในปี ค.ศ. 1968 ได้มีการปรับปรุงเครื่องยนต์รุ่นนี้ให้มีกำลังเพิ่มขึ้นเป็น 65 แรงม้า และเปลี่ยนรหัสเป็น C221 88 mm (3.5 in) 92 mm (3.6 in) 2,238 cc (136.6 cu in) OHV 8 วาล์ว
C240 มักใช้ในงานประจำที่และงานยกของ โดยได้ถูกติดตั้งใน Isuzu Elf 250 ตั้งแต่ปลายปี ค.ศ. 1969 (TLD23) และยังถูกติดตั้งใน Isuzu Elf Mypack (KUD20) แบบขับเคลื่อนล้อหน้าที่หายากอีกด้วย เครื่องยนต์นี้ถูกเรียกว่า 4AB1 สำหรับงานอุตสาหกรรมและทางทะเล เครื่องยนต์อีซูซุตระกูลนี้เคยถูกติดตั้งในรถจี๊ปนีย์ดีเซลรุ่นแรก ๆ และ CJ2A, CJ3A ที่ผลิตโดย Francisco Motors และ Sarao Motors ในประเทศฟิลิปปินส์ 86 mm (3.4 in) 102 mm (4.0 in) 2,369 cc (144.6 cu in) 38 ถึง 68 hp (39 ถึง 69 PS; 28 ถึง 51 kW)
145 N·m (107 lb·ft)
OHV 8 วาล์ว

เครื่องยนต์อีซูซุ DL

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
DL200 เป็นเครื่องยนต์ขนาด 2.0 ลิตร ช่วงชักยาว เสื้อสูบและฝาสูบทำจากเหล็กหล่อ ถูกติดตั้งใน Isuzu Elf ต่อมาในปี ค.ศ. 1961 ได้มีการแทนที่ด้วยเครื่องยนต์ DL201 ที่ทันสมัยกว่า 79 mm (3.1 in) 107 mm (4.2 in) 1,999 cc (122.0 cu in) 52 PS (38 kW)
12 kg·m (120 N·m; 87 lb·ft)
OHV 8 วาล์ว
เป็นเครื่องยนต์ขนาด 1.6 ลิตร เสื้อสูบและฝาสูบทำจากเหล็กหล่อ ถูกติดตั้งใน Isuzu Bellel ระบบหัวฉีดเชื้อเพลิงเป็นระบบของ Bosch ที่ได้รับอนุญาตให้ผลิต[25] 79 mm (3.1 in) 82 mm (3.2 in) 1,608 cc (98.1 cu in) 52 PS (38 kW)
87 lb·ft (118 N·m)
OHV 8 วาล์ว
DL201 เป็นเครื่องยนต์ขนาด 2.0 ลิตร เสื้อสูบและฝาสูบทำจากเหล็กหล่อ ถูกติดตั้งใน Isuzu Bellel และ Bellel Expres รวมถึง Elf และ Elfin เช่นเดียวกับรุ่นน้อง เครื่องยนต์ DL201 นี้ใช้ระบบหัวฉีดเชื้อเพลิงของ Bosch ที่ผลิตภายใต้ใบอนุญาต[25] 83 mm (3.3 in) 92 mm (3.6 in) 1,991 cc (121.5 cu in) 55 PS (40 kW)
8.9 kg·m (87 N·m; 64 lb·ft)
OHV 8 วาล์ว

เครื่องยนต์อีซูซุ E

[แก้]

เครื่องยนต์ตระกูลนี้มีต้นกำเนิดจากการออกแบบห้องเผาไหม้แบบหมุนวน (swirl chamber) ต่อมาได้มีการปรับปรุงให้เป็นระบบฉีดเชื้อเพลิงตรง (direct injection) ในรหัส 4EE1 และได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมเป็นระบบฉีดเชื้อเพลิงตรงแบบคอมมอนเรล 16 วาล์ว ในรหัส 4EE2

รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
4EC1
T4EC1
รุ่นดูดอากาศตามธรรมชาติให้กำลังสูงสุด 50 แรงม้า (37 กิโลวัตต์) ที่ 4,800 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 90 นิวตันเมตร ที่ 3,000 รอบต่อนาที รุ่นเทอร์โบ (IHI) ให้กำลังสูงสุด 67 แรงม้า (49 กิโลวัตต์) ที่ 4,600 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 132 นิวตันเมตร ที่ 2,600 รอบต่อนาที ซึ่งเป็นรุ่นที่ติดตั้งใน Opel Corsa A (พร้อมแรงดันอากาศ 0.68 บาร์ หรือ 9.9 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) และให้กำลังสูงสุด 72 แรงม้า (53 กิโลวัตต์) ที่ 4,600 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 143 นิวตันเมตร ที่ 2,600 รอบต่อนาที เมื่อติดตั้งใน Opel Kadett E ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า เครื่องยนต์รุ่นนี้ปรากฏครั้งแรกใน Isuzu Gemini FF[26][27] 76 mm (3.0 in) 82 mm (3.2 in) 1,488 cc (90.8 cu in) SOHC 8 วาล์ว
4EE1 รุ่นเทอร์โบและอินเตอร์คูลเลอร์ปรากฏครั้งแรกใน Isuzu Gemini รุ่นปี ค.ศ. 1990 เครื่องยนต์รุ่นนี้เป็นรากฐานของเครื่องยนต์ 4EE2 ซึ่งเป็นเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลฉีดตรงที่ปัจจุบันผลิตโดย Opel 79 mm (3.1 in) 86 mm (3.4 in) 1,686 cc (102.9 cu in) 88 PS (65 kW) ที่ 4,500 รอบต่อนาที
167 N·m (123 lb·ft) ที่ 2,500 รอบต่อนาที[28]
SOHC 8 วาล์ว
4EE2 เครื่องยนต์นี้ปัจจุบันผลิตโดย Opel เรียกว่า Ecotec DTi/CDTi เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ "Circle L" ผลิตในประเทศโปแลนด์โดย Isuzu Motors Polska และติดตั้งในรถบางรุ่นของ Opel และ Honda มีให้เลือกหลายรุ่น ได้แก่ 100, 110 และล่าสุด 130 แรงม้า ความแตกต่างที่มองเห็นได้เพียงอย่างเดียวระหว่างรุ่นต่าง ๆ คือการย้ายตำแหน่งฝาเติมน้ำมันเครื่องจากด้านบนขวา (ฮอนด้า 2003–05, เครื่องยนต์ 4EE2, รุ่น 100 แรงม้า, หัวฉีด 5 รู) ไปทางด้านล่างขวา จากนั้นไปที่มุมล่างซ้ายของเครื่องยนต์ (เครื่องยนต์ Opel A17DT A17DTC A17DTE)[29][30] รุ่นแรกใช้หัวฉีด 5 รู รุ่นล่าสุดมีหัวฉีด 7 รู เพื่อการปล่อยมลพิษที่ดีขึ้นและประหยัดน้ำมันมากขึ้น 79 mm (3.1 in) 86 mm (3.4 in) 1,686 cc (102.9 cu in) 74 kW (101 PS) DOHC 16 วาล์ว
A17DTL A17DTN ภายหลังจากโรงงานอีซูซุโปแลนด์ตกอยู่ภายใต้การเป็นเจ้าของโดยเจเนรัลมอเตอร์อย่างสมบูรณ์ เครื่องยนต์นี้ได้มีการเปลี่ยนรหัสไปเป็น A17 การปรับเปลี่ยนทั้งหมดที่กระทำต่อเครื่องยนต์ 4EE2 ดั้งเดิมนั้นเป็นเพียงการปรับแต่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางกายภาพในระดับเล็กน้อยเท่านั้น และสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นการปรับจูนมากกว่าการพัฒนาเครื่องยนต์ใหม่ทั้งหมด[30] 79 mm (3.1 in) 86 mm (3.4 in) 1,686 cc (102.9 cu in) 74 kW (101 PS) รายการรถยนต์และเครื่องยนต์ของโอเปิล DOHC 16 วาล์ว
A17DTJ A17DTC A17DTE เครื่องยนต์ A17 ทั้งหมดมีความคล้ายคลึงกับเครื่องยนต์พื้นฐาน 4EE2 เป็นอย่างมาก โดยมีการปรับเปลี่ยนหลักอยู่ที่หน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ (ECU), ซอฟต์แวร์ควบคุม, ล้อตรวจจับตำแหน่งเพลาลูกเบี้ยว, เซ็นเซอร์เพิ่มเติม (วัดอุณหภูมิไอเสีย), หัวฉีดรุ่นใหม่ และการปรับเปลี่ยนฝาครอบเครื่องยนต์ ซึ่งส่งผลให้ตำแหน่งฝาเติมน้ำมันเครื่องเปลี่ยนไป 79 mm (3.1 in) 86 mm (3.4 in) 1,686 cc (102.9 cu in) 110 PS (81 kW) A17DTJ power A17DTC power A17DTE power DOHC 16 วาล์ว
A17DTR 79 mm (3.1 in) 86 mm (3.4 in) 1,686 cc (102.9 cu in) 92 kW (125 PS) รายการรถยนต์และเครื่องยนต์ของโอเปิล DOHC 16 วาล์ว
A17DTS ปรับแต่งเครื่องยนต์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน พร้อมกำลังขับเคลื่อนสูงสุด โดยยังคงเป็นไปตามมาตรฐานไอเสียยูโร 5 ส่วนเสื้อสูบยังคงรูปแบบเดิมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 จนถึง 2014[30] 79 mm (3.1 in) 86 mm (3.4 in) 1,686 cc (102.9 cu in) 130 PS (96 kW) A17DTS power DOHC 16 วาล์ว

เครื่องยนต์อีซูซุ F

[แก้]
รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
4FB1 เป็นเครื่องยนต์ขนาด 1.8 ลิตร ถูกติดตั้งใน Chevrolet Chevette รุ่นปี ค.ศ. 1981–86, Isuzu Gemini/I-Mark รุ่นปี ค.ศ. 1979-87 รวมถึง Holden Gemini ซึ่งเป็นรุ่นที่ผลิตสำหรับตลาดออสเตรเลีย มีให้เลือกทั้งแบบหัวฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ (Bosch) และแบบเทอร์โบ
รุ่นดูดอากาศธรรมชาติมีกำลังสูงสุด 61 แรงม้า (45 กิโลวัตต์) ที่ 5,000 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 11.2 กิโลกรัม-เมตร (110 นิวตันเมตร; 81 ปอนด์-ฟุต) ที่ 2,000 รอบต่อนาที (มาตรฐาน JIS)[31]
รุ่นหัวฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์มีกำลังสูงสุด 66 แรงม้า (49 กิโลวัตต์) ที่ 5,000 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 11.2 กิโลกรัม-เมตร (110 นิวตันเมตร; 81 ปอนด์ฟุต) ที่ 2,000 รอบต่อนาที (มาตรฐาน JIS)[31]
รุ่นเทอร์โบมีกำลังสูงสุด 73 แรงม้า (54 กิโลวัตต์) ที่ 5,000 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 16.0 กิโลกรัม-เมตร (157 นิวตันเมตร; 116 ปอนด์-ฟุต) ที่ 2,500 รอบต่อนาที (มาตรฐาน JIS)[31]
84 mm (3.3 in) 82 mm (3.2 in) 1,817 cc (110.9 cu in) 51 hp (52 PS; 38 kW) ที่ 5,000 รอบต่อนาที
72 lb·ft (98 N·m)
SOHC 8 วาล์ว
4FC1 มีขนาด 2.0 ลิตร ถูกนำติดตั้ง Isuzu Aska และใน Hindustan Ambassador ทั้งในรูปแบบเทอร์โบและแบบไม่มีเทอร์โบ (2DE1 NA) 84 mm (3.3 in) 90 mm (3.5 in) 1,995 cc (121.7 cu in) SOHC 8 วาล์ว
4FD1 เครื่องยนต์ขนาด 2.2 ลิตรที่ติดตั้งใน Isuzu Midi แบบไม่มีเทอร์โบ มีลักษณะ 4 สูบเรียง วางตรง ระบายความร้อนด้วยน้ำ และเพลาลูกเบี้ยวเดี่ยวเหนือสูบ 88 mm (3.5 in) 90 mm (3.5 in) 2,189 cc (133.6 cu in) 61 bhp (62 PS; 45 kW) ที่ 4,400 รอบต่อนาที
92.9 lb·ft (126.0 N·m) ที่ 2,000 รอบต่อนาที
SOHC 8 วาล์ว

เครื่องยนต์อีซูซุ H

[แก้]

เครื่องยนต์ทุกรุ่นเป็นแบบเพลาลูกเบี้ยวเดี่ยวเหนือสูบ (Single Overhead Camshaft) พร้อมระบบหัวฉีดตรง และมีทั้งแบบดูดอากาศตามธรรมชาติ (N/A) แบบเทอร์โบชาร์จ (T) และแบบเทอร์โบชาร์จพร้อมอินเตอร์คูลเลอร์ (T/I)

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกระบอกสูบมี 3 ขนาด ได้แก่ 110 มิลลิเมตร (4.3 นิ้ว), 112 มิลลิเมตร (4.4 นิ้ว), 115 มิลลิเมตร (4.5 นิ้ว)

ส่วนช่วงชักมี 4 ขนาด ได้แก่ 110 มิลลิเมตร (4.3 นิ้ว), 115 มิลลิเมตร (4.5 นิ้ว), 120 มิลลิเมตร (4.7 นิ้ว), 125 มิลลิเมตร (4.9 นิ้ว)

สำหรับเครื่องยนต์รหัส 4HL1 นั้นมีระบบจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงแรงดันสูงแบบคอมมอนเรลควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Common Rail Electronic Control System หรือ CR-ECS)

รหัส ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ กำลัง วาล์ว หมายเหตุ ติดตั้งใน
4HE1-T 110 125 4,752 cc (290.0 cu in) 148 PS (109 kW) ที่ 2,900 รอบต่อนาที
400 N·m (300 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
8 T 1998 NQR500
4HE1-XN 110 125 4,752 cc (290.0 cu in) 127 kW (173 PS) ที่ 2,700 รอบต่อนาที
458 N·m (338 lb·ft) ที่ 2,000–2,400 รอบต่อนาที
8 T 2003 NPR400
4HF1 112 110 4,334 cc (264.5 cu in) 85 kW (116 PS) ที่ 3,200 รอบต่อนาที
285 N·m (210 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
8 N/A 1998 NPR200
4HG1-T 115 110 4.57L 89 kW (121 PS) ที่ 3,000 รอบต่อนาที
325 N·m (240 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
8 T 2000 NPR350A
4HJ1 115 120 4,985 cc (304.2 cu in) 111 kW (151 PS) ที่ 3,100 รอบต่อนาที
363 N·m (268 lb·ft) ที่ 1,600 รอบต่อนาที
8 N/A 1998–2004 Elf
4HK1-TCN 115 125 5,193 cc (316.9 cu in) 109 kW (148 PS) ที่ 2,600 รอบต่อนาที
402 N·m (296 lb·ft) ที่ 1,500–2,600 รอบต่อนาที
16 T 2006 NPR400[32]
4HK1-TCC 115 125 5,193 cc (316.9 cu in) 139 kW (189 PS) ที่ 2,600 รอบต่อนาที
510 N·m (380 lb·ft) ที่ 1,500–2,000 รอบต่อนาที
16 T 2008 NQR500
4HK1-TCS 115 125 5,193 cc (316.9 cu in) 129 kW (175 PS) ที่ 2,600 รอบต่อนาที
500 N·m (370 lb·ft) ที่ 1,600–2,600 รอบต่อนาที
16 T 2005 NQR500
4HL1 115 115 4,777 cc (291.5 cu in) 103 kW (140 PS) ที่ 3,000 รอบต่อนาที
333 N·m (246 lb·ft) ที่ 1,500 รอบต่อนาที
16 CR-ECS; N/A
4HL1-N 115 115 4,777 cc (291.5 cu in) 96 kW (131 PS) ที่ 3,000 รอบต่อนาที
333 N·m (246 lb·ft) ที่ 1,500 รอบต่อนาที
16 CR-ECS; N/A
4HL1-TC 115 115 4,777 cc (291.5 cu in) 118 kW (160 PS) ที่ 2,700 รอบต่อนาที
425 N·m (313 lb·ft) ที่ 1,500 รอบต่อนาที
16 CR-ECS; T/I
4HL1-TCS 115 115 4,777 cc (291.5 cu in) 132 kW (179 PS) ที่ 2,700 รอบต่อนาที
500 N·m (370 lb·ft) ที่ 1500 รอบต่อนาที
16 CR-ECS; T/I

เครื่องยนต์อีซูซุ J

[แก้]
เครื่องยนต์อีซูซุ 4JJ3-TCX

เครื่องยนต์ตระกูล J เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรง เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1985 มีขนาดความจุให้เลือกทั้ง 2.5 และ 2.8 ลิตร[22] เดิมทีถูกติดตั้งเฉพาะใน Isuzu Elf เท่านั้น แต่ในเวลาต่อมาได้มีการนำไปติดตั้งในรถรุ่นอื่น ๆ ของอีซูซุ เครื่องยนต์รุ่นนี้ได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ตระกูล C ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย ต่อมาได้มีการเปิดตัวเครื่องยนต์ขนาด 3.0 และ 3.1 ลิตร ซึ่งยังคงเป็นแบบ 4 สูบเรียง

รหัส คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุ อัตราส่วนการอัด กำลัง ขบวนเปิดปิดลิ้น
4JA1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรง มีทั้งแบบ 8 วาล์ว และ 16 วาล์ว ได้รับการติดตั้งในรถกระบะ Isuzu TF หลายรุ่นภายใต้ชื่อต่าง ๆ รวมถึง Opel Campo และในตลาดไทยคือ Isuzu Cameo (รวมถึง Mazda B2500 "Thunder" รุ่นปี ค.ศ. 1991–97 และ Ford Marathon รุ่นปี ค.ศ. 1992–96) และใน Isuzu Panther รถยนต์อเนกประสงค์ของอีซูซุที่ผลิตในอินโดนีเซีย สำหรับสเปกในประเทศไทย รุ่น 8 วาล์วที่ไม่ติดตั้งเทอร์โบมีกำลังสูงสุด 90 แรงม้า 93 มิลลิเมตร (3.7 นิ้ว) 92 มิลลิเมตร (3.6 นิ้ว) 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว) 18.4:1 90 PS (66 kW) ที่ 4,200 รอบต่อนาที
17.5 kg·m (172 N·m) ที่ 2, 000 รอบต่อนาที[33]
4JA1-L เป็นเครื่องยนต์เทอร์โบแต่ไม่มีอินเตอร์คูลเลอร์ มีอัตราส่วนการอัด 18.5 Isuzu KB250 (D-Max) ที่ผลิตโดย GM แอฟริกาใต้ มีกำลังสูงสุด 79 แรงม้า (58 กิโลวัตต์) ที่ 3,800 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 170 นิวตันเมตร (130 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที สำหรับตลาดอินโดนีเซีย เครื่องยนต์นี้มีกำลังสูงสุด 80 แรงม้า (59 กิโลวัตต์) ที่ 3,500 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 191 นิวตันเมตร (141 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที และถูกติดตั้งใน Isuzu Bison ซึ่งเป็นรถยนต์ Mitsubishi Delica (L300) ที่เปลี่ยนชื่อ, Isuzu Pickup รุ่นเก่า, Isuzu Panther และ Isuzu Traga สำหรับตลาดฟิลิปปินส์ เครื่องยนต์นี้มีกำลังสูงสุด 85 แรงม้า (63 กิโลวัตต์) ที่ 3,900 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 185 นิวตันเมตร (136 ปอนด์-ฟุต) ที่ 2,000 รอบต่อนาที ถูกติดตั้งใน Isuzu Crosswind ซึ่งเป็นรุ่นในประเทศของ Isuzu Panther ที่ผ่านมาตรฐานยูโร 2 และในอินเดีย เครื่องยนต์นี้มีกำลังสูงสุด 73.4 แรงม้า (54.0 กิโลวัตต์) ที่ 3,900 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 171 นิวตันเมตร (126 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,800 รอบต่อนาที และถูกติดตั้งใน Chevrolet Tavera (Isuzu Panther อีกเวอร์ชั่นหนึ่ง) ที่ผ่านมาตรฐาน BS-3 (เทียบเท่ายูโร 3) 93 มิลลิเมตร (3.7 นิ้ว) 92 มิลลิเมตร (3.6 นิ้ว) 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว)
4JA1 CR / 4JA1 Blue Power เป็นรุ่นปรับปรุงของ 4JA1-L เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานไอเสียยูโร 4 ซึ่งแตกต่างจากรุ่นก่อนหน้าที่ใช้ระบบฉีดเชื้อเพลิงตรงแบบเดิม เครื่องยนต์รุ่นนี้ใช้ระบบฉีดเชื้อเพลิงตรงคอมมอนเรลแรงดันสูง พร้อมตัวกรองอนุภาคดีเซล (DPF)[34] ทำให้สามารถปล่อยมลพิษได้ตามมาตรฐานยูโร 4 เครื่องยนต์รุ่นนี้ให้กำลังสูงสุด 78 แรงม้า (57 กิโลวัตต์) ที่ 3,900 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 176.5 นิวตันเมตร (18.00 กิโลกรัมเมตร) ที่ 1,800 รอบต่อนาที โดยเริ่มใช้งานครั้งแรกใน Isuzu Traviz (Isuzu Traga รุ่นผลิตสำหรับตลาดฟิลิปปินส์)[35] และต่อมาได้ถูกนำไปใช้ใน Isuzu Traga รุ่นยูโร 4 ที่ผลิตสำหรับตลาดอินโดนีเซีย[36] 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว) 78 PS (57 kW) ที่ 3,900 รอบต่อนาที แรงบิด 176.5 N·m (18.00 kg·m) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
4JA1-T เป็นรุ่นเทอร์โบชาร์จของ 4JA1 93 มิลลิเมตร (3.7 นิ้ว) 92 มิลลิเมตร (3.6 นิ้ว) 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว) OHV
4JB1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซล 4 สูบเรียงแบบดูดอากาศตามธรรมชาติ ระบายความร้อนด้วยน้ำ ฉีดตรง และเครื่องยนต์ดีเซลรอบสูง กำลังสูงที่ใช้ปั๊มเชื้อเพลิงแบบโรตารี VE รุ่นอุตสาหกรรมมีกำลังสูงสุด 90 แรงม้า ให้แรงบิดสูงสุด 135 ปอนด์-ฟุต ที่ 2,000 รอบต่อนาที ในขณะที่รุ่นเบานั้น ใช้ปั๊มเชื้อเพลิงแบบเฟือง และระบบฉีดเชื้อเพลิงแบบกลไก มีน้ำหนักแห้ง 230 กิโลกรัม (510 ปอนด์) เครื่องยนต์นี้เคยใช้ในรถยนต์ Isuzu Bighorn (Trooper), Mu (Rodeo), Wizard (LWB Rodeo), Rodeo Pickup และ Holden Jackaroo ที่จำหน่ายในตลาดทั่วโลก ยกเว้นอเมริกาเหนือ จนถึงช่วงต้นทศวรรษที่ 1990 เครื่องยนต์นี้ยังถูกติดตั้งใน Isuzu Elf 150 และรถบรรทุกขนาดเล็กอื่น ๆ 93 มิลลิเมตร (3.7 นิ้ว) 102 มิลลิเมตร (4.0 นิ้ว) 2,771 ลูกบาศก์เซนติเมตร (169.1 ลูกบาศก์นิ้ว) 87 PS (64 kW)[37] OHV
4JB1-T เป็นรุ่นเทอร์โบชาร์จของ 4JB1 โดยบางรุ่นมีการติดตั้งอินเตอร์คูลเลอร์ เครื่องยนต์ 4JB1 หลายรุ่นยังคงมีการผลิตในประเทศจีน ทั้งโดยบริษัทร่วมทุนของอีซูซุในจีนและผู้ผลิตอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น YANGZI นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มประสิทธิภาพเป็นระบบฉีดเชื้อเพลิงตรงแบบคอมมอนเรลเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการปล่อยมลพิษแห่งชาติระดับ 4 และแม้กระทั่งแบบ 16 วาล์ว DOHC ก็ยังอยู่ในการผลิต 93 มิลลิเมตร (3.7 นิ้ว) 102 มิลลิเมตร (4.0 นิ้ว) 2,771 ลูกบาศก์เซนติเมตร (169.1 ลูกบาศก์นิ้ว) 100 และ 115 PS (74 และ 85 kW)[38]
4JC1 88 mm 92 mm 2,238 cc OHV
4JD1 84 mm 92 mm 2,039 cc OHV
4JE1 84 mm 84 mm 1,862 cc OHV
4JF1 75.3 mm 84 mm 1,496 cc OHV
4JK1-TC เป็นเครื่องยนต์ดีเซลเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ ฉีดเชื้อเพลิงตรงแบบคอมมอนเรล ถูกติดตั้งในรถกระบะ Isuzu D-Max รุ่นล่าง หรือรุ่นพื้นฐานในตลาดฟิลิปปินส์ และ Chevrolet Colorado โฉมแรกที่ผลิตในประเทศไทย 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 87.4 มิลลิเมตร (3.44 นิ้ว) 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว) 85 kW (116 PS)
208 N·m (153 lb·ft; 21.2 kg·m) ที่ 1,800–2,200 รอบต่อนาที
DOHC 16 วาล์ว
4JK1-TCX เป็นเครื่องยนต์ดีเซล 4 สูบเรียง พร้อมระบบฉีดเชื้อเพลิงตรงแบบอิเล็กทรอนิกส์คอมมอนเรล และเทอร์โบแปรผัน (Variable Geometry System หรือ VGS) อัตราส่วนการอัดเริ่มต้นอยู่ที่ 18.1:1 ถูกติดตั้งในรถกระบะ Isuzu D-Max รุ่น 4×4 ซึ่งผลิตขึ้นทั้งในประเทศไทยและออสเตรเลีย นอกจากนี้ยังติดตั้งในรถรุ่นใกล้เคียงกัน ได้แก่ Holden Rodeo และ Chevrolet Colorado โฉมแรก 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 87.4 มิลลิเมตร (3.44 นิ้ว) 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว) 136 PS (100 kW)
325 N·m (240 lb·ft) at 1800-2800 rpm
16 Valve DOHC
4JK-1E5-TC เป็นรุ่นเทอร์โบคู่ของเครื่องยนต์ 4JK1 ผลิตขึ้นสำหรับ Isuzu D-Max รุ่นส่งออกไปยังยุโรปตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012 เป็นต้นมา ได้รับการรับรองมาตรฐานการปล่อยมลพิษยูโร 5b มีอัตราส่วนการอัด 17.0:1 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 87.4 มิลลิเมตร (3.44 นิ้ว) 2,499 ลูกบาศก์เซนติเมตร (152.5 ลูกบาศก์นิ้ว) 120 kW (160 PS) ที่ 3,600 รอบต่อนาที
400 N·m (300 lb·ft; 41 kg·m) ที่ 1,400–2,000 รอบต่อนาที
4JG1 ใช้ปั๊มน้ำมันเครื่องแบบโทรคอยด์ ซึ่งขับเคลื่อนด้วยเฟืองจากเพลาลูกเบี้ยว ระบบเชื้อเพลิงทำงานโดยอาศัยหลักการของลูกสูบและหัวฉีด และเป็นระบบฉีดเชื้อเพลิงตรงแรงดันสูง (Zexel in-line Bosch A-type) มอเตอร์สตาร์ตทำงานด้วยกระแสไฟฟ้า 12 โวลต์ ลำดับการจุดระเบิดคือ 1-3-4-2 18.6 48 kW (65 PS) at 2500 rpm
205 N·m (151 lb·ft; 20.9 kg·m)
OHV
4JG1T เป็นรุ่นเทอร์โบชาร์จของ 4JG1 หนึ่งในความแตกต่างที่สำคัญคือ อัตราส่วนการอัดที่ลดลงเหลือ 18.1:1 18.1 63 kW (86 PS) ที่ 2,500 รอบต่อนาที
265 N·m (195 lb·ft; 27.0 kg·m)
OHV
4JG2 เป็นเครื่องยนต์ฉีดอ้อม (Indirect Injection) ซึ่งได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4JB1-T ใน Isuzu Bighorn (Trooper II) และ Mu/Wizard (Rodeo) ในตลาดส่วนใหญ่[39] เครื่องยนต์รุ่นได้รับการปรับปรุงระบบจ่ายเชื้อเพลิงจากระบบหัวฉีดแบบกลไก ไปเป็นระบบหัวฉีดแบบกลไกควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 107 มิลลิเมตร (4.2 นิ้ว) 3,059 ลูกบาศก์เซนติเมตร (186.7 ลูกบาศก์นิ้ว) 70 ถึง 84 kW (95 ถึง 114 PS)
4JH1-T เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรงขนาด 3.0 ลิตร พร้อมเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ ซึ่งได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4JB1-T ใน Isuzu Faster/Rodeo รถรุ่นนี้จำหน่ายในนิวซีแลนด์และออสเตรเลียในชื่อ Holden Rodeo สำหรับบางรุ่นนั้นมาพร้อมกับปั๊มฉีดเชื้อเพลิงควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 88 kW (120 PS)
245 N·m (181 lb·ft; 25.0 kg·m)
OHV
4JH1-TC เป็นเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลฉีดตรง เทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ ขนาด 3.0 ลิตร ซึ่งเป็นรุ่นที่พัฒนาขึ้นมาแทนที่เครื่องยนต์ 4JB1-T ที่ใช้ใน Isuzu NHR และ NKR ในบางตลาด เครื่องยนต์รุ่นนี้ถูกนำไปติดตั้งใน Isuzu QKR ที่จำหน่ายในประเทศฟิลิปปินส์ นับตั้งแต่ปี ค.ศ.2004 เป็นต้นมา เครื่องยนต์รุ่นนี้ได้รับการปรับปรุงระบบกล่องควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ (ECU) ทำให้มีกำลังสูงสุดเพิ่มขึ้นเป็น 163 แรงม้า และได้ถูกนำไปใช้งานในหลายประเทศ 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 104.9 มิลลิเมตร (4.13 นิ้ว) 2,999 ลูกบาศก์เซนติเมตร (183.0 ลูกบาศก์นิ้ว) 77 kW (105 PS)
230 N·m (170 lb·ft; 23 kg·m)
4JJ1-TC เป็นเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลฉีดตรง พร้อมเทอร์โบและอินเตอร์คูลเลอร์ ซึ่งได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4JH1 ใน Holden Rodeo และต่อมาใน Chevrolet และ Holden Colorado ที่ผลิตในประเทศไทย เครื่องยนต์นี้มีอัตราส่วนการอัด 17.5:1 และเคยถูกใช้ใน Alterra ในประเทศฟิลิปปินส์ระหว่างปี ค.ศ. 2005 ถึง 2014 เครื่องยนต์ดีเซล 4JJ1-TC-iTEQ ขนาด 3.0 ลิตร เป็นเครื่องยนต์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเป็นไปตามมาตรฐานการปล่อยมลพิษยูโร 3 เครื่องยนต์นี้ติดตั้งเทอร์โบและอินเตอร์คูลเลอร์ รวมถึงระบบหัวฉีดตรงแบบคอมมอนเรล ทำให้สามารถผลิตกำลังสูงสุดได้ 144 แรงม้า และแรงบิดสูงสุดได้ 294 นิวตันเมตร 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 104.9 มิลลิเมตร (4.13 นิ้ว) 2,999 ลูกบาศก์เซนติเมตร (183.0 ลูกบาศก์นิ้ว) DOHC 16 วาล์ว
4JJ1-TCX เป็นเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลฉีดตรงขนาด 3.0 ลิตร พร้อมเทอร์โบแปรผันและอินเตอร์คูลเลอร์ มีอัตราส่วนการอัดเริ่มต้นที่ 17.5:1 กำลังของเครื่องยนต์เมื่อปี ค.ศ. 2006 อยู่ที่ 163 แรงม้า (120 กิโลวัตต์) และแรงบิด 360 นิวตันเมตร (270 ปอนด์-ฟุต) สำหรับเกียร์ธรรมดา และ 333 นิวตันเมตร (246 ปอนด์-ฟุต) สำหรับเกียร์อัตโนมัติ ต่อมาในปี ค.ศ. 2011 กำลังได้เพิ่มขึ้นเป็น 177 แรงม้า (130 กิโลวัตต์) และแรงบิด 380 นิวตันเมตร (280 ปอนด์-ฟุต) พร้อมกับการลดอัตราส่วนการอัดลงเหลือ 17.3:1 ด้วยการเปิดตัวระบบ "BluePower" ของอีซูซุในปี ค.ศ. 2015 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงนั้น อัตราส่วนการอัดได้ถูกปรับลดลงเหลือ 16.5:1 ทั้งใน Isuzu D-Max รุ่นปรับโฉมที่ติดตั้งระบบ BluePower และ Isuzu Mu-X 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 104.9 มิลลิเมตร (4.13 นิ้ว) 2,999 ลูกบาศก์เซนติเมตร (183.0 ลูกบาศก์นิ้ว) DOHC 16 วาล์ว
4JJ3-TCX เป็นเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลฉีดตรงขนาด 3.0 ลิตรรุ่นใหม่ล่าสุด ที่มาพร้อมเทอร์โบแปรผัน และอินเตอร์คูลเลอร์ ซึ่งได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4JJ1-TCX ใน Isuzu D-Max เครื่องยนต์รุ่นนี้ใช้หัวฉีดเชื้อเพลิงแบบยูนิต ร่วมกับระบบ BluePower ของอีซูซุ และมี 4 วาล์วต่อสูบ มีกำลังสูงสุด 190 แรงม้า (140 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 450 นิวตันเมตร (330 ปอนด์-ฟุต) อัตราส่วนการอัดถูกปรับลดลงเหลือ 16.3:1 95.4 มิลลิเมตร (3.76 นิ้ว) 104.9 มิลลิเมตร (4.13 นิ้ว) 2,999 ลูกบาศก์เซนติเมตร (183.0 ลูกบาศก์นิ้ว) DOHC 16 วาล์ว
4JJ1-T เครื่องยนต์ 4JJ1-T REDTECH เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรงขนาด 3.0 ลิตรเทอร์โบ ระบายความร้อนด้วยน้ำ จำหน่ายในตลาดอเมริกาเหนือและใต้ในรูปแบบเครื่องยนต์อุตสาหกรรม ผ่านการรับรองมาตรฐานมลพิษ US EPA Tier 4 และ Euro 3b/4

น้ำหนักแห้ง: 322 กิโลกรัม (709.9 ปอนด์)

ความจุน้ำหล่อเย็น (เสื้อสูบ): 6.0 ลิตร (6.3 qt.)

ความจุน้ำมันเครื่อง: 15.0 ลิตร (15.9 qt.)

มิติ - ยาว x กว้าง x สูง 911 มม. x 754 มม. x 847 มม. (35.9 นิ้ว x 29.7 นิ้ว x 33.3 นิ้ว)

3.0 ลิตร (183.1 ลูกบาศก์นิ้ว) 52 KW (70 HP) ที่ 2,000 รอบต่อนาที (แปรผัน) OHV
4JJ1-X เครื่องยนต์ 4JH1-X REDTECH เป็นเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรงขนาด 3.0 ลิตรเทอร์โบ ระบบระบายความร้อนด้วยน้ำ จำหน่ายในตลาดอเมริกาเหนือและใต้ในรูปแบบเครื่องยนต์อุตสาหกรรมที่สามารถทำงานแบบความเร็วรอบคงที่และแบบแปรผัน ผ่านการรับรองมาตรฐานมลพิษ US EPA Tier 4 และ Euro 3b/4

ล้อตุนกำลังขนาด SAE 3

น้ำหนักแห้ง: 322 กิโลกรัม (709.9 ปอนด์)

ความจุน้ำหล่อเย็น (เสื้อสูบ): 6.0 ลิตร (6.3 qt.)

ความจุน้ำมันเครื่อง: 15.0L (15.9 qt.)

มิติ: 911 มม. x 754 มม. x 847 มม. (35.9 นิ้ว x 29.7 นิ้ว x 33.3 นิ้ว)

3.0 ลิตร

(183.1 ลูกบาศก์นิ้ว)

70.8 KW (95HP) @ 1,800 รอบต่อนาที (คงที่)

85.7 KW (115 HP) ที่ 2,200 รอบต่อนาที (แปรผัน)

OHV
4JX1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 3.0 ลิตร ระบบฉีดเชื้อเพลิงไฮดรอลิก (Hydraulic Electronic Unit Injection หรือ HEUI) พร้อมเทอร์โบและอินเตอร์คูลเลอร์ในบางรุ่น เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4JG2 ใน Isuzu Bighorn/Trooper และ Holden Jackaroo เครื่องยนต์รุ่นนี้ใช้หัวฉีดเชื้อเพลิงแบบยูนิต และมี 4 วาล์วต่อสูบ

น้ำหนักแห้ง: 254 กิโลกรัม

ความจุน้ำหล่อเย็น: 9.3 ลิตร

ความจุน้ำมันเครื่อง: 9.0 ลิตร

95.4 mm (3.76 in) 104.9 mm (4.13 in) 3.0 ลิตร

(183.1 ลูกบาศก์นิ้ว)

117 kW (157 hp) ที่ 3,900 รอบต่อนาที DOHC

เครื่องยนต์อีซูซุ RZ

[แก้]
  • RZ4E-TC เป็นเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 1.9 ลิตร พร้อมระบบหัวฉีดตรงและเทอร์โบชาร์จเจอร์พร้อมอินเตอร์คูลเลอร์ ซึ่งได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 4JK1-TCX ที่ใช้ใน Isuzu D-Max และ Isuzu MU-X เครื่องยนต์ใหม่นี้มีปริมาตรกระบอกสูบ 1,898 ซีซี น้อยกว่าเครื่องยนต์ 4JK1-TCX อยู่ 601 ซีซี นอกจากนี้เครื่องยนต์ RZ4E-TC ยังสามารถสร้างกำลังสูงสุดได้ 150 แรงม้า ที่ 3,600 รอบต่อนาที และให้แรงบิดสูงสุด 258 ปอนด์-ฟุต ที่ 1,800–2,600 รอบต่อนาที ซึ่งสูงกว่าเครื่องยนต์ 4JK1-TCX ถึง 16 แรงม้า และ 22 ปอนด์-ฟุต อีซูซุระบุว่าเครื่องยนต์ RZ4E-TC นั้นจะมีอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงดีขึ้น 19% เมื่อเทียบกับรุ่นก่อนหน้า เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบอยู่ที่ 80.0 มิลลิเมตร และช่วงชักอยู่ที่ 94.4 มิลลิเมตร
  • RZ4F-TC เป็นเครื่องยนต์ดีเซลเทอร์โบขนาด 2.2 ลิตรที่เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ RZ4E-TC ใน Isuzu D-Max และ Isuzu MU-X เครื่องยนต์รุ่นใหม่นี้มีปริมาตรกระบอกสูบ 2,164 ซีซี มากกว่า RZ4E-TC อยู่ 175 ซีซี นอกจากนี้ยังให้กำลังสูงสุด 163 แรงม้าที่ 3,600 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 295 ปอนด์-ฟุตที่ 1,800–2,600 รอบต่อนาที ซึ่งมากกว่า RZ4E-TC อยู่ 13 แรงม้า และ 37 ปอนด์-ฟุต ตามลำดับ อีซูซุอ้างว่า RZ4F-TC จะมีอัตราสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงดีขึ้น 10% เมื่อเทียบกับรุ่นก่อนหน้า ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบเท่ากับ 83 มิลลิเมตร และช่วงชักเท่ากับ 100 มิลลิเมตร

อีซูซุได้พัฒนาเครื่องยนต์แก๊สธรรมชาติอัด (Compressed Natural Gas; CNG) รุ่นแรกที่มีมลพิษต่ำ โดยติดตั้งในรถบรรทุกขนาดเล็กที่ปล่อยควันดำเป็นศูนย์

เครื่องยนต์ CNG

[แก้]
  • 4HF1-CNG เป็นเครื่องยนต์ CNG ขนาด 4.334 ลิตร (ตามพื้นฐานของเครื่องยนต์ดีเซลฉีดตรง) ที่มีระบบจุดระเบิดแบบไม่สัมผัส (non-contact ignition system) แรงบิดสูงสุด 323 นิวตัน-เมตร กำลังสูงสุด 120 แรงม้า (88 กิโลวัตต์) ที่ 1,500 รอบต่อนาที ขนาดกระบอกสูบ 115 มิลลิเมตร ช่วงชัก 108 มิลลิเมตร
  • 4HV1 เป็นเครื่องยนต์ CNG ขนาด 4.570 ลิตร ที่มีระบบจุดระเบิดแบบไม่สัมผัส แรงบิดสูงสุด 353 นิวตัน-เมตร กำลังสูงสุด 170 แรงม้า (125 กิโลวัตต์) ที่ 3,200 รอบต่อนาที ขนาดกระบอกสูบ 115 มิลลิเมตร ช่วงชัก 110 มิลลิเมตร ใช้ใน Isuzu NPR300 CNG

5 สูบ

[แก้]

เบนซิน

[แก้]

Isuzu i-Series ใช้เครื่องยนต์ 5 สูบเรียงที่ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์

  • สำหรับรุ่นปี ค.ศ. 2004–2006 ใช้เครื่องยนต์ Vortec 3500 ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ มีกำลังสูงสุด 220 แรงม้า (164 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 225 ฟุต-ปอนด์ (305 นิวตันเมตร)
  • ในรุ่นปี ค.ศ. 2007–2008 เปลี่ยนมาใช้เครื่องยนต์ Vortec 3700 ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ มีกำลังสูงสุด 242 แรงม้า (180 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 242 ฟุต-ปอนด์ (327 นิวตันเมตร)

6 สูบ

[แก้]

เบนซิน

[แก้]

เจเนรัลมอเตอร์

[แก้]
  • ในช่วงปี ค.ศ. 1988 ถึง 1990 Isuzu Trooper รุ่นแรก ได้ใช้เครื่องยนต์เบนซิน V6 ขนาด 2.8 ลิตร (2,838 ซีซี) รหัส LL2 ซึ่งมีระบบจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงแบบหัวฉีดจุดเดียว สามารถผลิตกำลังสูงสุด 122 แรงม้า (91 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 204 นิวตันเมตร (150 ปอนด์-ฟุต)
  • ในช่วงปี ค.ศ. 1990 ถึง 1992 Isuzu Rodeo ได้ใช้เครื่องยนต์เบนซิน V6 ขนาด 3.1 ลิตร รหัส LG6 ซึ่งมีกำลังสูงสุด 122 แรงม้า (91 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 224 นิวตันเมตร (165 ปอนด์-ฟุต) ก่อนจะมีการเปลี่ยนมาใช้เครื่องยนต์ดีเซลขนาด 3.2 ลิตร รหัส 6VD1 ซึ่งผลิตโดยอีซูซุเอง
  • รถ SUV ที่ผลิตในช่วงปี ค.ศ. 2002 ถึง 2009 นั้นใช้เครื่องยนต์ Atlas 4200 ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ โดยมีกำลังสูงสุด 275 แรงม้า (205 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 275 ปอนด์-ฟุต (373 นิวตันเมตร) สำหรับรุ่นปี ค.ศ. 2007 แพลตฟอร์ม GMT360 ได้รับการปรับปรุงให้มีกำลังสูงสุดเพิ่มขึ้นเป็น 291 แรงม้า (217 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 277 ปอนด์-ฟุต (376 นิวตัน-เมตร)
  • Isuzu Hombre รุ่นปี ค.ศ. 1996–2000 ใช้เครื่องยนต์ Vortec 4300 ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ มีกำลังสูงสุด 180 แรงม้า (134 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 245 ปอนด์-ฟุต (332 นิวตันเมตร)

เครื่องยนต์อีซูซุ V

[แก้]

เครื่องยนต์อีซูซุ V เป็นตระกูลเครื่องยนต์เบนซิน V6 ขนาด 75 องศา ทำจากอะลูมิเนียมทั้งหมด มีขนาดตั้งแต่ 3.2 ถึง 3.5 ลิตร

ดีเซล

[แก้]
รหัส คำอธิบาย เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบ ช่วงชัก ความจุกระบอกสูบ กำลังสูงสุด แรงบิดสูงสุด
D400 เครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบเรียง ขนาด 4.0 ลิตร ปรากฏครั้งแรกในปี ค.ศ. 1968 ในรถบรรทุกซีรีส์ TY 3,998 cc (3.998 L; 244.0 cu in) 102 PS (75 kW) ที่ 3,400 รอบต่อนาที 25.0 kg·m (245 N·m; 181 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
DA640 เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบเรียง ขนาด 6.4 ลิตร 6,373 cc (6.373 L; 388.9 cu in) 135 PS (99 kW) ที่ 2,600 รอบต่อนาที 41.5 kg·m (407 N·m; 300 lb·ft) ที่ 1,600 รอบต่อนาที
DH100 เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบเรียง ขนาด 10 ลิตร 10,179 cc (10.179 L; 621.2 cu in) 195 PS (143 kW) ที่ 2,300 รอบต่อนาที 69 kg·m (680 N·m; 500 lb·ft) ที่ 1200 รอบต่อนาที
E120 เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบเรียง ขนาด 12 ลิตร 12,023 cc (12.023 L; 733.7 cu in) 260 PS (191 kW) ที่ 2,500 รอบต่อนาที 84 kg·m (820 N·m; 610 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที
6BB1 รุ่น 6 สูบของ 4BB1 5,393 cc (5.393 L; 329.1 cu in)[40] 145 PS (107 kW) ที่ 3,200 รอบต่อนาที 35 kg·m (340 N·m; 250 lb·ft) ที่ 2,000 รอบต่อนาที
6BD1 รุ่น 6 สูบของ 4BD1 5,785 cc (5.785 L; 353.0 cu in) 160 PS (118 kW) ที่ 3,200 รอบต่อนาที 39 kg·m (380 N·m; 280 lb·ft) ที่ 2,000 รอบต่อนาที
6BD1T รุ่น 6 สูบของ 4BD1T 5,785 cc (5.785 L; 353.0 cu in) 180 PS (132 kW) at 3,000 รอบต่อนาที
185 PS (136 kW) at 3,000 รอบต่อนาที
49 kg·m (480 N·m; 350 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
53 kg·m (520 N·m; 380 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที
6BF1 6,130 cc (6.13 L; 374 cu in) 170 PS (125 kW) ที่ 3,200 รอบต่อนาที 42.5 kg·m (420 N·m; 310 lb·ft)
6BG1 รุ่น 6 สูบของ 4BG1 6,494 cc (6.494 L; 396.3 cu in) 200 PS (147 kW) ที่ 2,800 รอบต่อนาที (6BG1-TC/TCE)
175 PS (129 kW) ที่ 3,000 รอบต่อนาที / 180 PS (132 kW) ที่ 3,000 รอบต่อนาที (6BG1-S)
155 PS (114 kW) ที่ 2,800 รอบต่อนาที / 160 PS (118 kW) ที่ 2,800 รอบต่อนาที (6BG1-N)
210 PS (154 kW) ที่ 2,800 รอบต่อนาที (6BG1-TC1)
230 PS (169 kW) ที่ 2,800 รอบต่อนาที (6BG1-TC2)
44 kg·m (430 N·m; 320 lb·ft) / 45 kg·m (440 N·m; 330 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6BG1-N)
46 kg·m (450 N·m; 330 lb·ft) / 47 kg·m (460 N·m; 340 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6BG1-S)
65 kg·m (640 N·m; 470 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6BG1-TC/TCE/TC1)
66 kg·m (650 N·m; 480 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6BG1-TC2)
6DE1 เครื่องยนต์ดีเซล DOHC 24 วาล์วเทอร์โบ ขนาด 3.0 ลิตร พบใน รุ่น Euro 4 ของ Opel Vectra 87.5 mm (3.44 in) 82 mm (3.2 in) 2,958 cc (2.958 L; 180.5 cu in) 184 PS (135 kW) 400 N·m (300 lb·ft)
6HE1 รุ่น 6 สูบของ 4HE1 110 mm (4.3 in) 125 mm (4.9 in) 7,127 cc (7.127 L; 434.9 cu in) 165 PS (121 kW) ที่ 2,800 รอบต่อนาที (6HE1-N, 1989)
195 PS (143 kW) ที่ 2,900 รอบต่อนาที (6HE1-S, 1989)
46 kg·m (450 N·m; 330 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6HE1-N)
51 kg·m (500 N·m; 370 lb·ft) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6HE1-S)
6HE1T รุ่น 6 สูบของ 4HE1T 110 mm (4.3 in) 125 mm (4.9 in) 7,127 cc (7.127 L; 434.9 cu in) มาตรฐานการปล่อยมลพิษญี่ปุ่น 1989:
220 PS (162 kW) ที่ 2,700 รอบต่อนาที (6HE1-TCN)
250 PS (184 kW) ที่ 2,700 รอบต่อนาที (6HE1-TCS)
มาตรฐานการปล่อยมลพิษญี่ปุ่น 1994:
230 PS (169 kW) ที่ 2,700 รอบต่อนาที (6HE1-TCN)
260 PS (191 kW) ที่ 2,700 รอบต่อนาที (6HE1-TCS)
มาตรฐานการปล่อยมลพิษญี่ปุ่น 1989:
66 kg·m (650 N·m; 480 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6HE1-TCN)
70 kg·m (690 N·m; 510 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6HE1-TCS)
มาตรฐานการปล่อยมลพิษญี่ปุ่น 1994:
68 kg·m (670 N·m; 490 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6HE1-TCN)
77 kg·m (760 N·m; 560 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6HE1-TCS)
6HH1 รุ่น 6 สูบของ 4HH1 115 mm (4.5 in) 132 mm (5.2 in) 8,226 cc (8.226 L; 502.0 cu in) 175 PS (129 kW) (6HH1-N, 1994)
185 PS (136 kW) (6HH1-C, 1994)
210 PS (154 kW) (6HH1-S, 1994)
225 PS (165 kW) (6HH1-S, 1998)
50 kg·m (490 N·m; 360 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6HH1-N, 1994)
55 kg·m (540 N·m; 400 lb·ft) (6HH1-S and 6HH1-C, 1994)
58 kg·m (570 N·m; 420 lb·ft) (6HH1-S, 1998)
6HK1 รุ่น 6 สูบของ 4HK1 115 mm (4.5 in) 125 mm (4.9 in) 7,790 cc (7.79 L; 475 cu in) 205 PS (151 kW) (6HK1-TCR)
240 PS (177 kW) (6HK1-TCN)
260 PS (191 kW) (6HK1-TCC)
280 PS (206 kW) (6HK1-TCS, 1998-1999)
300 PS (221 kW) (6HK1-TCH; 6HK1-TCS, 2005)
รหัสการปล่อยมลพิษญี่ปุ่น KK, KL, PA, PJ:
55 kg·m (540 N·m; 400 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6HK1-TCR)
70 kg·m (690 N·m; 510 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6HK1-TCN)
76 kg·m (750 N·m; 550 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6HK1-TCC)
82 kg·m (800 N·m; 590 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6HK1-TCS)
รหัสการปล่อยมลพิษญี่ปุ่น PDG, PKG:
72 kg·m (710 N·m; 520 lb·ft) ที่ 1,450 รอบต่อนาที (6HK1-TCN)
78 kg·m (760 N·m; 560 lb·ft) ที่ 1,450 รอบต่อนาที (6HK1-TCC)
100 kg·m (980 N·m; 720 lb·ft) ที่ 1,450 รอบต่อนาที (6HK1-TCS)
รหัสการปล่อยมลพิษ

ญี่ปุ่น SKG:
76 kg·m (750 N·m; 550 lb·ft) ที่ 1,400-2,300 รอบต่อนาที (6HK1-TCH)
78 kg·m (760 N·m; 560 lb·ft) ที่ 1,450-2,200 รอบต่อนาที (6HK1-TCC)
100 kg·m (980 N·m; 720 lb·ft) ที่ 1,450 รอบต่อนาที (6HK1-TCS)

6HL1 รุ่น 6 สูบของ 4HL1 114 mm (4.5 in) 117 mm (4.6 in) 7,166 cc (7.166 L; 437.3 cu in) 180 PS (132 kW) (6HL1-N)
190 PS (140 kW) (6HL1-S, 2003-2004)
205 PS (151 kW) (6HL1-S, 1998)
50 kg·m (490 N·m; 360 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6HL1-N)
51 kg·m (500 N·m; 370 lb·ft) ที่ 1,700 รอบต่อนาที (6HL1-S)
6NX1 เครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบเรียง พบใน Isuzu Giga โฉมปัจจุบัน (ในแชสซีแบบแข็ง 4×2 และ 6×2) 7,790 cc (7.79 L; 475 cu in) 340 PS (250 kW)
6QA1 125 mm (4.9 in) 150 mm (5.9 in) 11,044 cc (11.044 L; 673.9 cu in) 220 PS (162 kW)
6QA2 220 PS (162 kW)
6QB2 230 PS (169 kW)
6RA1 135 mm (5.3 in) 140 mm (5.5 in) 12,024 cc (12.024 L; 733.7 cu in) 285 PS (210 kW) ในรุ่นเทอร์โบ
6RB1 135 mm (5.3 in) 160 mm (6.3 in) 13,741 cc (13.741 L; 838.5 cu in) 320 PS (235 kW) (6RB1-TC1)
340 PS (250 kW) (6RB1-T1)
6RB2 275 PS (202 kW) ที่ 2,700 รอบต่อนาที
6SA1 115 mm (4.5 in) 135 mm (5.3 in) 8,413 cc (8.413 L; 513.4 cu in) 200 PS (147 kW) ที่ 2,700 รอบต่อนาที 58 kg·m (570 N·m; 420 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที
6SD1 120 mm (4.7 in) 145 mm (5.7 in) 9,839 cc (9.839 L; 600.4 cu in) 310 PS (228 kW) (6SD1-TCN)
340 PS (250 kW) (6SD1-TCS)
6TE1 161 mm (6.3 in) 155 mm (6.1 in) 18,933 cc (18.933 L; 1,155.4 cu in) 330 PS (243 kW)
370 PS (272 kW)
6UV1 รุ่นใช้แก๊ส CNG ของ 6UZ1 120 mm (4.7 in) 145 mm (5.7 in) 9,839 cc (9.839 L; 600.4 cu in) 330 PS (243 kW)
6UZ1 เครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ เปิดตัวในปี ค.ศ. 2005 พบใน Isuzu Giga 120 mm (4.7 in) 145 mm (5.7 in) 9,839 cc (9.839 L; 600.4 cu in) ถึงปี 2010:
330 PS (243 kW) ที่ 20,00 รอบต่อนาที (6UZ1-TCN)
380 PS (279 kW) ที่ 2,000 รอบต่อนาที (6UZ1-TCS)
ตั้งแต่ปี 2010:
330 PS (243 kW) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6UZ1-TCN)
380 PS (279 kW) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6UZ1-TCS)
400 PS (294 kW) ที่ 1,800 รอบต่อนาที (6UZ1-TCH)
ถึงปี 2010:
1,422 N·m (1,050 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6UZ1-TCN)
1,765 N·m (1,300 lb·ft) ที่ 1,400 รอบต่อนาที (6UZ1-TCS)
ตังแต่ปี 2010:
1,422 N·m (1,050 lb·ft) ที่ 1,000-1500 รอบต่อนาที (6UZ1-TCN)
1,765 N·m (1,300 lb·ft) ที่ 1,200 รอบต่อนาที (6UZ1-TCS)
1,765 N·m (1,300 lb·ft) ที่ 1,200 รอบต่อนาที (6UZ1-TCH)
6WA1 132.9 mm (5.23 in) 145 mm (5.7 in) 12,068 cc (12.068 L; 736.4 cu in) 330 PS (243 kW) (6WA1-TCN)
360 PS (265 kW) (6WA1-TCC)
390 PS (287 kW) (6WA1-TCS)
6WF1 147 mm (5.8 in) 140 mm (5.5 in) 14,256 cc (14.256 L; 870.0 cu in) 320 PS (235 kW) (6WF1-TCN)
370 PS (272 kW)(6WF1-TC)
6WG1 เครื่องยนต์ 6 สูบ พบในรถหัวลาก Isuzu E-Series 147 mm (5.8 in) 154 mm (6.1 in) 15,681 cc (15.681 L; 956.9 cu in) 400 PS (294 kW) (6WG1-TCR)
420 PS (309 kW) (6WG1-TCN)
460 PS (338 kW) (6WG1-TCC)
520 PS (382 kW) (6WG1-TCS)
เครื่องยนต์ดีเซล 380 แรงม้า รหัส 6UZ1-TCG40

8 สูบ

[แก้]

เบนซิน

[แก้]
  • รถ SUV ของอีซูซุในช่วงปี ค.ศ. 2001–2009 ใช้เครื่องยนต์ Vortec 5300 ที่ผลิตโดยเจเนรัลมอเตอร์ ให้กำลังสูงสุด 285 แรงม้า (213 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 325 ปอนด์-ฟุต (441 นิวตันเมตร)
  • รถบรรทุกเพื่อการพาณิชย์อีซูซุใช้เครื่องยนต์ Vortec 6000 ที่ผลิตโดยเจเนรับมอเตอร์ ให้กำลังสูงสุด 300 แรงม้า (224 กิโลวัตต์) และแรงบิดสูงสุด 360 ปอนด์-ฟุต (488 นิวตันเมตร)

ดีเซล

[แก้]
  • 8PA1 เป็นเครื่องยนต์ดีเซล V8 ขนาด 10.0 ลิตร (9,971 ซีซี) สำหรับรถบรรทุก มีกำลังสูงสุด 215 แรงม้า (158 กิโลวัตต์) ที่ 2,800 รอบต่อนาที และแรงบิดสูงสุด 62.0 กิโลกรัม-เมตร (608 นิวตันเมตร; 448 ปอนด์-ฟุต) ที่ 1,600 รอบต่อนาที[41]
  • อีซูซุได้ร่วมออกแบบและผลิตเครื่องยนต์ V8 Duramax ร่วมกับเจเนรัลมอเตอร์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001–2010

12 สูบ

[แก้]

เบนซิน

[แก้]
รหัสเครื่องยนต์ รายละเอียด ขนาดกระบอกสูบ ระยะชัก ความจุ กำลัง แรงบิด
P799WE[42] เครื่องยนต์ฟอร์มูลาวัน 12 สูบ ใช้ในรถแข่ง Lotus 102B แต่พัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989–1991 85 มิลลิเมตร 51.3 มิลลิเมตร 3.5 ลิตร (3,500 ซีซี) 649–775 แรงม้า 401–418 นิวตัน-เมตร

ดีเซล

[แก้]
รุ่นเครื่องยนต์ คำอธิบาย ขนาดกระบอกสูบ ระยะชัก ความจุ กำลัง แรงบิด
12PA1 เครื่องยนต์ 12 สูบที่ใช้ในรถบรรทุก Isuzu New Power ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976 ถึงสิงหาคม ค.ศ. 1983 115 มิลลิเมตร 120 มิลลิเมตร 15 ลิตร (14,957 ซีซี) 350 และ 385 แรงม้า
12PB1 เครื่องยนต์ 12 สูบที่ใช้ในรถบรรทุก Isuzu New Power ตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1979 ถึงสิงหาคม ค.ศ. 1983 115 มิลลิเมตร 135 มิลลิเมตร 17 ลิตร (16,827 ซีซี) 350 และ 385 แรงม้า
12PC1 เครื่องยนต์ 12 สูบที่ใช้ใน Isuzu 810 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983 ถึง 1989 119 มิลลิเมตร 135 มิลลิเมตร 18 ลิตร (18,018 ซีซี) 355 แรงม้า (12PC1-N)
395 แรงม้า (12PC1-S)
12PD1 เครื่องยนต์ 12 สูบที่ใช้ใน Isuzu 810 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 ถึง 1994 119 มิลลิเมตร 150 มิลลิเมตร 20 ลิตร (20,020 ซีซี) 365 แรงมเา (12PD1-N)
395 แรงม้า (12PD1-C)
425 แรงม้า (12PD1-S)
12PE1 เครื่องยนต์ 12 สูบที่ใช้ใน Isuzu Giga ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994 ถึง 2000 127 มิลลิเมตร 150 มิลลิเมตร 23 ลิตร (22,801 ซีซี) 385 แรงม้า

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Alternative Fuel (a natural progression)" (PDF). Isuzu Engines. สืบค้นเมื่อ 22 April 2022.
  2. "H-Series". Isuzu Engines. สืบค้นเมื่อ 22 April 2022.
  3. 3.0 3.1 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 4-2-1
  4. Industrial Diesel Engines: 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 (Workshop Manual), Isuzu Motors Limited, December 1983, p. 1, 809-06-200K
  5. 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 1-2
  6. 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 1-3
  7. 2AA1–3AA1, 2AB1–3AB1 Workshop Manual, p. 1-4
  8. "Isuzu 3LB1 - Isuzu 3LD1 - Isuzu 3LD2 - 3LB1 - 3LD1 - 3LD2 - Engine model - Engine characteristics - Valvetrain - Overhead valve - 4 Cycle - Water cooled - Vertical In-line - 3 Cylinders - Injection - Output | DET Isuzu". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-06. สืบค้นเมื่อ 2018-02-05.
  9. 9.0 9.1 Ozeki, Kazuo (2007). 日本のトラック・バス 1918~1972 [Japanese Trucks and Buses 1918-1972] (ภาษาJapanese). Tokyo: Miki Press. p. 54. ISBN 978-4-89522-494-9.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  10. ものづくりの歴史 いすゞ自動車株式会社 [Manufacturing history of Isuzu Motors]. Isuzu Recruiting Information (ภาษาJapanese). Isuzu Motors. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-08. สืบค้นเมื่อ 2014-01-08.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  11. 11.0 11.1 Ishikawa, Kenji (2012-05-01), "トラックメーカーアーカイブ: いすゞ自動車のすべて [Truck Manufacturer Archive: Everything Isuzu]", Camion (ภาษาJapanese), Tokyo, Japan: Geibun Mooks, p. 86, ISBN 978-4-86396-183-8{{citation}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  12. Mastrostefano, Raffaele, บ.ก. (1985). Quattroruote: Tutte le Auto del Mondo 1985 (ภาษาItalian). Milano: Editoriale Domus S.p.A. p. 175. ISBN 978-88-7212-012-5.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  13. Isuzu: Piazza, 117 Coupé, Bellett GT (ภาษาJapanese), Tokyo: Neko Publishing, 1991, p. 63, ISBN 978-4-87366-026-4{{citation}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  14. Meyer, Donald E. (March 2009), "The first century of GMC truck history" (PDF), GM Heritage Center, General Motors, p. 37
  15. "自動車ガイドブック: Japanese motor vehicles guide book 1973/1974" (ภาษาJapanese). 20. Japan: Japan Automobile Manufacturers Association. 1973-10-30: 277. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  16. Mastrostefano, Raffaele, บ.ก. (1990). Quattroruote: Tutte le Auto del Mondo 1990 (ภาษาItalian). Milano: Editoriale Domus S.p.A. p. 388.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  17. Tutte le Auto del Mondo 1990, pp. 389-390
  18. Büschi, Hans-Ulrich, บ.ก. (5 March 1992). Automobil Revue 1992 (ภาษาGerman และ French). Vol. 87. Berne, Switzerland: Hallwag AG. p. 318. ISBN 978-3-444-00539-8.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  19. "Retro Review: '91 Isuzu Stylus XS", MotorWeek (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2021-03-12
  20. 20.0 20.1 Automobil Revue 1992, p. 319
  21. Flammang, James M. (1994). Standard Catalog of Imported Cars, 1946–1990. Iola, WI: Krause Publications, Inc. p. 309. ISBN 978-0-87341-158-5.
  22. 22.0 22.1 22.2 Takeuchi, Koichi; Kubota, Kimi; Konagai, Masao; Watanabe, Mitsuo; Kihara, Ryoji (1985). "The New Isuzu 2.5 Liter and 2.8 Liter 4-Cylinder Direct Injection Diesel Engine". SAE Transactions. 94 (2): 434–452. ISSN 0096-736X. JSTOR 44467592.
  23. Quattroruote Speciale: Tutte le Auto del Mondo 1967 (ภาษาItalian). Milano: Editoriale Domus S.p.A. February 1967. p. 151.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  24. "1979 Isuzu 117 XD Coupé technical specifications". Carfolio.com. 2008-04-03.
  25. 25.0 25.1 Flammang, p. 308
  26. Büschi, Hans-Ulrich, บ.ก. (March 1991). Automobil Revue 1991 (ภาษาGerman และ French). Vol. 86. Berne, Switzerland: Hallwag AG. pp. 457, 459. ISBN 978-3-444-00514-5.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  27. Automobil Revue 1991, p. 462
  28. Automobil Revue 1991, p. 332
  29. 4EE2 parts
  30. 30.0 30.1 30.2 4EE2 development history
  31. 31.0 31.1 31.2 World Cars 1984. Pelham, NY: L'Editrice dell'Automobile LEA/Herald Books. 1984. p. 345. ISBN 978-0-910714-16-7.
  32. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-02-08. สืบค้นเมื่อ 2013-02-18.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  33. Rodeo 4WD: ยอดรถสำหรับยอดดน [Top Car for Top People] (catalog) (ภาษาThai), บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด [Tri Petch Isuzu Sales Ltd.], April 1992, pp. 3–4{{citation}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  34. Pornelos, Vince (2019-11-13). "With Euro4 4JA1 in 2020 Traviz, could Isuzu revive Crosswind?". Autoindustriya.com.
  35. "Isuzu TRAVIZ | Isuzu Philippines". www.isuzuphil.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-15.
  36. "Isuzu Traga Euro 4 | Isuzu Indonesia". isuzu-astra.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-06-11.
  37. Mastrostefano, Raffaele, บ.ก. (1990). Quattroruote: Tutte le Auto del Mondo 1990 (ภาษาItalian). Milano: Editoriale Domus S.p.A. p. 1252.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  38. Automobil Revue 1991, p. 334
  39. Büschi, Hans-Ulrich, บ.ก. (10 March 1994). Automobil Revue 1994 (ภาษาGerman และ French). Vol. 89. Berne, Switzerland: Hallwag AG. p. 316. ISBN 978-3-444-00584-8.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  40. 自動車ガイドブック [Automobile Guide Book 1976/1977] (ภาษาJapanese), vol. 23, Japan: Japan Automobile Manufacturers Association, 1976-10-20, p. 291, 0053-760023-3400{{citation}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  41. Automobile Guide Book 1976/1977, p. 279
  42. "Isuzu's V12 monster". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-17. สืบค้นเมื่อ 2024-06-25.