รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า

พระมหากษัตริย์
แห่งพม่า
ราชาธิปไตยในอดีต
พระราชลัญจกร
พระเจ้าสีป่อ
พระมหากษัตริย์องค์สุดท้าย

ปฐมกษัตริย์ Abhiyaza
องค์สุดท้าย พระเจ้าสีป่อ
เริ่มระบอบ 850 ปีก่อนคริสตกาล
สิ้นสุดระบอบ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1885
ผู้อ้างสิทธิ์ โซ่วี่น

บทความนี้รวบรวมรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรต่าง ๆ ภายในประเทศพม่า

พุกาม (ค.ศ. 849–1297)

[แก้]

ด้านล่างนี้คือรายพระนามบางส่วนของกษัตริย์พุกามตอนต้นก่อนถึงสมัยพระเจ้าอโนรธามังช่อ ตามที่มีหลักฐานอยู่ในสี่พงศาวดารสำคัญของพม่า แต่โดยส่วนใหญ่ยึดเวลาตามพงศาวดาร Zatadawbon Yazawin

ลำดับ พระนาม รูป รัชกาลในพงศาวดาร Zatadawbon Yazawin รัชกาลในพงศาวดาร มหาราชวงศ์ รัชกาลในพงศาวดาร มหาราชวงศ์ ฉบับใหม่ และ มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว ความสัมพันธ์
1 พระเจ้าปยีน-บย่า 846–886

(40 ปี)

846–858

(12 ปี)

846–878

(32 ปี)

2 ตานแนะ 886–904

(18 ปี)

858–876

(18 ปี)

878–906

(28 ปี)

พระโอรส
3 ซะเลงะคเว่ 904–934

(30 ปี)

876–901

(25 ปี)

906–915

(9 ปี)

ผู้ชิงราชสมบัติ
4 เต้นโค 934–956

(22 ปี)

901–917

(16 ปี)

915–931

(16 ปี)

พระโอรส
5 ญองอู้ ซอยะฮ่าน 956–1001

(45 ปี)

917–950

(33 ปี)

931–964

(33 ปี)

ผู้ชิงราชสมบัติ
6 กู้นซอจ้องพยู 1001–1021

(20 ปี)

950–971

(21 ปี)

964–986

(22 ปี)

พระโอรสของตานแนะ
7 จีนโซ่ 1021–1038

(17 ปี)

971–977

(6 ปี)

986–992

(6 ปี)

พระโอรสของญองอู้ ซอยะฮ่าน
8 โซะกะเต้ 1038–1044

(6 ปี)

977–1002

(25 ปี)

992–1017

(25 ปี)

พระอนุชา

รายพระนามและระยะเวลารัชกาลตามพงศาวดาร นักวิชาการประเทศพม่าสมัยอาณานิคม G.H. Luce ไม่รู้จักพระเจ้านรเถขะและเสนอช่องว่างเก้าปีระหว่าง 1165 และ 1174 แต่ช่องว่างเวลาดังกล่าวได้รับการตรวจสอบอย่างจริงจังและเติมในภายหลัง นอกจากนี้ Luce ยังแนะว่านรสิงหอุซะนาเป็นกษัตริย์ระหว่าง 1231 และ 1235 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล[1]

ลำดับ พระนาม พระบรมรูป
พระบรมสาทิสลักษณ์
เจดีย์ที่สร้าง
เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
1 พระเจ้าอโนรธามังช่อ 11 สิงหาคม 1044 11 เมษายน 1077

(32 ปี 243 วัน)

พระโอรสของกู้นซอจ้องพยู
2 พระเจ้าซอลู 11 เมษายน 1077 ประมาณ 21 เมษายน 1084

(7 ปี 10 วัน)

พระโอรส
3 พระเจ้าจั่นซิตา 21 เมษายน 1084 1112 หรือ 1113

(28,29 ปี)

พระโอรสร่วมพระบิดา
4 พระเจ้าอลองสิธู 1112 หรือ 1113 1167

(54,55 ปี)

พระนัดดา
5 พระเจ้านรตู่ 1167 ประมาณ กุมภาพันธ์ 1171

(4 ปี)

พระโอรส
6 พระเจ้านรสิงขะ ประมาณ กุมภาพันธ์ 1171 พฤษภาคม 1174

(3 ปี)

พระโอรส
7 พระเจ้านรปติสี่ตู่ พฤษภาคม 1174 18 สิงหาคม 1211 (37 ปี) พระอนุชา
8 พระเจ้าไชยสิงขะ 18 สิงหาคม 1211 19 กรกฎาคม 1235

(23 ปี 335 วัน)

พระโอรส
9 นรสิงหอุซะนา (เทียบเท่าผู้ว่าการแทน) ประมาณ 1231 หรือ 1235 19 กรกฎาคม 1235

(0,4 ปี)

พระโอรส
10 พระเจ้าจะซวา 19 กรกฎาคม 1235 ประมาณ พฤษภาคม 1251

(16 ปี)

พระโอรสของพระเจ้าไชยสิงขะ
11 พระเจ้าอุซะนา ประมาณ พฤษภาคม 1251 ประมาณ 6 พฤษภาคม 1256

(5 ปี)

พระโอรส
12 พระเจ้านรสีหบดี 6 พฤษภาคม 1256 1 กรกฎาคม 1287

(31 ปี 56 วัน)

พระโอรส
ช่วงว่างกษัตริย์หลังมองโกลรุกราน (1287–1289)
พระเจ้ากะยอฉะวาแห่งพุกาม 30 พฤษภาคม 1289 17 ธันวาคม 1297

(8 ปี 201 วัน)

พระโอรส

อาณาจักรย่อย

[แก้]

มยีนไซง์ (ค.ศ. 1297–1313)

[แก้]

พงศาวดารหลักทั้งหมดบันทึกว่าการปกครองร่วมสิ้นสุดลงในปี 1312-1313 แต่พงศาวดาร มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว บันทึกว่าจบลงในปี 1310-1311 หลักฐานแสดงให้เห็นว่าพระเชษฐาคนแรกเสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 เมษายน 1310 แต่พระเชษฐาคนที่สองยังมีชีวิตอยู่

พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
พระเจ้าอตินคายา
พระเจ้าราซะทินจาน
พระเจ้าสีหตู
17 ธันวาคม 1297 13 เมษายน 1310 ผู้สถาปนา, พระอนุชา และ ผู้สำเร็จราชการร่วม
พระเจ้าราซะทินจาน
พระเจ้าสีหตู
13 เมษายน 1310 ก่อน 7 กุมภาพันธ์ 1313 ผู้ปกครองร่วม

ปี้นยะ (ค.ศ. 1313–1364)

[แก้]

วันและเวลาโดย Than Tun และ Gordon Luce จากการตรวจสอบพงศาวดารรายงานวันที่บันทึก พระเจ้ามยีนไซง์สีตูไม่ปรากฏในพงศาวดารใด[2]

พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
พระเจ้าสีหตู 7 กุมภาพันธ์ 1313 ประมาณ กุมภาพันธ์ 1325 พระอนุชาของพระเจ้าอตินคายา และพระเจ้าราซะทินจาน
พระเจ้าอุซะนาที่ 1 ประมาณ กุมภาพันธ์ 1325 1 กันยายน 1340 พระโอรสบุญธรรมของพระเจ้าสีหตู, พระโอรสของพระเจ้ากะยอฉะวาแห่งพุกาม
พระเจ้าสีตู 1 กันยายน 1340 29 มีนาคม 1344 พระมาตุลา
พระเจ้ากะยอฉะวาที่ 1
(สีหตูที่ 2)
29 มีนาคม 1344 12 ธันวาคม 1350 พระนัดดา และพระชามาดา
พระเจ้ากะยอฉะวาที่ 2 12 ธันวาคม 1350 19 มีนาคม 1359 พระโอรส
พระเจ้านราธูแห่งปี้นยะ
(สีหตูที่ 3)
19 มีนาคม 1359 มิถุนายน 1364 พระอนุชา
พระเจ้าอุซะนาที่ 2 มิถุนายน 1364 กันยายน 1364 พระอนุชา

ซะไกง์ (ค.ศ. 1315–1364)

[แก้]
พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
พระเจ้าซอยุน 15 พฤษภาคม 1315 5 กุมภาพันธ์ 1327 พระโอรสของพระเจ้าสีหตู
พระเจ้าตราพระยาที่ 1 5 กุมภาพันธ์ 1327 1335 หรือ 1336 พี่น้องร่วมพระบิดา
พระเจ้าชเวตองเตต 1335 หรือ 1336 ประมาณ สิงหาคม 1339 พระโอรส
พระเจ้าจะซวาแห่งซะไกง์ ประมาณ สิงหาคม 1339 ประมาณ มีนาคม 1349 พระโอรสของพระเจ้าซอยุน
พระเจ้านอรธามินเย ประมาณ เมษายน 1349 ประมาณ พฤศจิกายน 1349 พระอนุชา
พระเจ้าตราพระยาที่ 2 ประมาณ พฤศจิกายน 1349 23 กุมภาพันธ์ 1352 พระอนุชา
พระเจ้ามินบเยาะสีหบดี 23 กุมภาพันธ์ 1352 เมษายน 1364 พระเทวัน

อังวะ (ค.ศ. 1364–1555)

[แก้]

พงศาวดารพม่าให้วันที่คล้ายกัน แต่ระยะเวลารัชกาลทั้งหมดไม่เหมือนกัน[3] ตารางต่อไปนี้ส่วนใหญ่เป็นไปตามวันที่บันทึกในพงศาวดาร มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว และวันที่บันทึกใน (มหาราชวงศ์ Vol. 2 2006: 352–355). วันที่รัชกาลโดย G.E. Harvey (Harvey 1925: 366) ส่วนใหญ่สิ้นสุดรัชกาลในปีต่อมามากกว่าในพงศาวดารและวันจากการตรวจสอบ

พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
พระเจ้าตะโดมินพญา เมษายน 1364 ประมาณ 3 กันยายน 1367 พระนัดดาของพระเจ้าซอยุน
พระเจ้าสวาซอเก
(พระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา)
5 กันยายน 1367 เมษายน 1400 พระนัดดาของพระเจ้ากะยอฉะวาแห่งพุกาม และพระปนัดดาของพระเจ้าสีหตู
พระเจ้าตราพระยา เมษายน 1400 25 พฤศจิกายน 1400 พระโอรส
พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง
(มังฆ้องที่ 1)
25 พฤศจิกายน 1400 ประมาณ กุมภาพันธ์ 1422 พี่น้องร่วมพระบิดา
พระเจ้าสีหตูแห่งอังวะ
(พระเจ้าฝรั่งมังศรี, มังศรีสู)
ประมาณ กุมภาพันธ์ 1422 สิงหาคม 1425 พระโอรส
พระเจ้ามี่นละแง สิงหาคม 1425 พฤศจิกายน 1425 พระโอรส
พระเจ้ากะเล่เจ้ตองโญ พฤศจิกายน 1425 20 พฤษภาคม 1426 พระปิตุลา
พระเจ้าโม่ญี่นตะโด้ 20 พฤษภาคม 1426 พฤษภาคม 1439 สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้ากะยอฉะวาที่ 1 แห่งปี้นยะ
พระเจ้ามังรายกะยอฉะวาที่ 1 พฤษภาคม 1439 มกราคม 1442 พระโอรส
พระเจ้านรปติที่ 1 25 เมษายน 1442 24 กรกฎาคม 1468 พระอนุชา
พระเจ้าสีหสุระ
(สีหสุระที่ 1)
24 กรกฎาคม 1468 ประมาณ สิงหาคม 1480 พระโอรส
พระเจ้ามังฆ้องที่ 2 ประมาณ สิงหาคม 1480 7 เมษายน 1501 พระโอรส
พระเจ้าสีหสุระที่ 2
(สีหสุระที่ 2)
1485 4 มีนาคม 1501 พระโอรส
ปกครองร่วมกับพระเจ้ามังฆ้องที่ 2
พระเจ้าชเวนันจอชิน
(นรปติที่ 2)
7 เมษายน 1501 14 มีนาคม 1527 พระโอรสของพระเจ้ามังฆ้องที่ 2
พระเจ้าโตฮาน-บว่า 14 มีนาคม 1527 พฤษภาคม 1542 พระโอรสของเจ้าฟ้าซะโลนแห่งโม่ญี่น
พระเจ้าคอนเมง มิถุนายน 1542 ประมาณ กันยายน 1545 เจ้าฟ้าเมืองสีป่อ
พระเจ้าโม่บแยนะระปะติ
(นรปติที่ 3)
ประมาณ กันยายน 1545 ประมาณ ตุลาคม 1551 พระโอรส
พระเจ้าซีตูจอทีน
(นรปติที่ 4)
ประมาณ ตุลาคม 1551 22 มกราคม 1555 ปกครองเมืองสาลินและเป็นอุปราชแห่งซะไกง์

หงสาวดี (ค.ศ. 1287–1539, 1550–1552)

[แก้]
พระนาม
ตาม "พงศาวดารมอญและพม่า" และ "ราชาธิราช"
เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
พระเจ้าฟ้ารั่ว
(มะกะโท หว่ารียุ)
4 เมษายน 1287 มกราคม 1307 ปฐมกษัตริย์
พระเจ้ารามประเดิด
(ขุ่นลอ)
มกราคม 1307 มีนาคม 1311 พระอนุชา
พระเจ้าแสนเมือง
(เจ้าอาว ซอโอ่)
10 เมษายน 1311 กันยายน 1323 พระนัดดา
พระเจ้ารามมะไตย
(เจ้าชีพ ซอเซ)
กันยายน 1323 เมษายน 1330 พระอนุชา
ชีปอน
(เซปุ่น)
เมษายน 1330 เมษายน 1330 ขุนนางผู้ชิงราชสมบัติ
พระยาอายกำกอง
(ซอเอกั่นเกาง์)
เมษายน 1330 พฤษภาคม 1330 พระนัดดาของพระเจ้ารามมะไตย
พระยาอายลาว
(บะญาเอลอ)
พฤษภาคม 1330 1348 พระปิตุลา, พระโอรสของพระเจ้ารามประเดิด
พระยาอู่
(บะญาอู)
1348 2 มกราคม 1384 พระนัดดา, พระโอรสของพระเจ้ารามมะไตย
พระเจ้าราชาธิราช
(หย่าซะดะหริ)
2 มกราคม 1384 ประมาณ กุมภาพันธ์ 1421 พระโอรส
พระเจ้าสุโทธรรมราชา
(พญาธรรมราชา บะญาดะมะหย่าส่า)
ประมาณ กุมภาพันธ์ 1421 1424 พระโอรส
พญารามที่ 1
(บะญาหยั่ง)
1424 1446 พระอนุชา
พญาพะโร
(บะญาบะยู)
1446 30 พฤษภาคม 1451 พระนัดดา
พญาเกียรติ์
(บะญาจัง)
30 พฤษภาคม 1451 ประมาณ มิถุนายน 1453 พระญาติ; พระโอรสของพญาธรรมราชา
พญามหอดอ
(มะมุดตาว เลหมุ่นทอ)
ประมาณ มิถุนายน 1453 ประมาณ มกราคม 1454 พระญาติ; โอรสของพญารามที่ 1
พระนางเชงสอบู
(ตละนางพระยาท้าว ฉิ่งซอบุ๊)
ประมาณ มกราคม 1454 1471 พระปิตุจฉา; พระราชธิดาของพระเจ้าราชาธิราช
พระเจ้าธรรมเจดีย์
(ดะมะเส่ดี่)
1471 1492 พระโอรสบุญธรรม
พญารามที่ 2
(บะญาหยั่ง)
1492 1526 พระโอรส
พระเจ้าสการะวุตพี
(ดะก่ายุปิ๊)
1526 ประมาณ มกราคม 1539 พระโอรส
สมัยภายใต้การปกครองของราชวงศ์ตองอู (1539–1550)
สมิงสอตุด
(สะเหม่งซอทุ)
มิถุนายน 1550 สิงหาคม 1550 ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์
สมิงทอ
(สะเหม่งทอ)
สิงหาคม 1550 12 มีนาคม 1552 พระอนุชาของพระเจ้าสการะวุตพี

มเยาะอู้ (ค.ศ. 1429–1785)

[แก้]

วันที่ครองราชย์ในพงศาวดารยะไข่ Rakhine Razawin Thit (Sandamala Linkara Vol. 2 1931) โดยแปลงวันที่เป็นแบบตะวันตก (Eade 1989) แปลงหลังปี 1582 ในปฏิทินกริกอเรียน (บันทึกของชาวยะไข่บางฉบับระบุการสถาปนาอาณาจักรเกิดขึ้นในอีกหนึ่งปีต่อมาคือปี 1430 นอกจากนี้ในบันทึกของชาวพม่าระบุวันสิ้นสุดอาณาจักรคือวันที่ 2 มกราคม 1785 ส่วนบันทึกของชาวยะไข่ระบุวันก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน คือวันที่ 1 มกราคม 1785)

พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
นรเมขลา 18 เมษายน 1429 9 พฤษภาคม 1433 ผู้สถาปนา
คะยี 9 พฤษภาคม 1433 ป. มกราคม 1459 พระอนุชา
Ba Saw Phyu ป. มกราคม 1459 5 สิงหาคม 1482 พระโอรส
Dawlya 5 สิงหาคม 1482 ป. กุมภาพันธ์ 1492 พระโอรส
Ba Saw Nyo ป. กุมภาพันธ์ 1492 ป. มกราคม 1494 พระปิตุลา, พระโอรสของKhayi
Ran Aung ป. มกราคม 1494 ป. กรกฎาคม 1494 พระปนัดดา, พระโอรสของDawlya
Salingathu ป. กรกฎาคม 1494 กุมภาพันธ์ 1502 พระมาตุลา
ยาซา กุมภาพันธ์ 1502 ป. พฤศจิกายน 1513 พระโอรส
จาซาปะติ ป. พฤศจิกายน 1513 มกราคม 1515 พระโอรส
ซอโอ มกราคม 1515 กรกฎาคม 1515 พระปิตุลา; พระอนุชาของSalingathu
ตะซาตะ กรกฎาคม 1515 ป. เมษายน 1521 พระโอรสของDawlya
มังฆ้อง ป. เมษายน 1521 27 พฤษภาคม 1531 พระอนุชา
มี่นบีน 27 พฤษภาคม 1531 11 มกราคม 1554 พระโอรสของยาซา
Dikkha 11 มกราคม 1554 6 มีนาคม 1556 พระโอรส
ซอละ 6 มีนาคม 1556 24 กรกฎาคม 1564 พระโอรส
Sekkya 24 กรกฎาคม 1564 7 กุมภาพันธ์ 1572 พระอนุชา
มี่นพะล่อง 7 กุมภาพันธ์ 1572 4 กรกฎาคม 1593 พระโอรสของมี่นบีน
ยาซาจี้ 4 กรกฎาคม 1593 4 กรกฎาคม 1612 พระโอรส
คะม่อง 4 กรกฎาคม 1612 14 พฤษภาคม 1622 พระโอรส
สิริสุธรรมมา 14 พฤษภาคม 1622 31 พฤษภาคม 1638 พระโอรส
สเน่ห์ 1 มิถุนายน 1638 26 มิถุนายน 1638 พระโอรส
นรปติ 26 มิถุนายน 1638 3 ธันวาคม 1645 พระปนัดดาของมี่นบีน
ตะโด 3 ธันวาคม 1645 ป. พฤษภาคม 1652 พระโอรส
จันทสุธรรมมา ป. พฤษภาคม 1652 11 มิถุนายน 1674 พระโอรส
สิริสุริยา 11 มิถุนายน 1674 16 เมษายน 1685 พระโอรส
วรธรรมราชา 16 เมษายน 1685 20 มิถุนายน 1692 พระอนุชา
มุนีสุธรรมราชา 20 มิถุนายน 1692 20 ธันวาคม 1694 พระเชษฐา
จันทสุริยาที่ 1 20 ธันวาคม 1694 4 สิงหาคม 1696 พระอนุชา
นรธา 4 สิงหาคม 1696 18 สิงหาคม 1696 พระโอรส
Mayuppiya 18 สิงหาคม 1696 13 พฤษภาคม 1697 ผู้ชิงราชสมบัติ
Kalamandat 16 พฤษภาคม 1697 5 มิถุนายน 1698 ผู้ชิงราชสมบัติ
นรธิบดีที่ 1 5 มิถุนายน 1698 17 มิถุนายน 1700 พระโอรสของจันทสุริยาที่ 1
จันทวิมาลาที่ 1 18 มิถุนายน 1700 30 มีนาคม 1707 พระนัดดาของตะโด
จันทสุริยาที่ 2 3 เมษายน 1707 กันยายน 1710 พระนัดดาของจันทสุธรรมมา
ระยะว่าง ~2 เดือน
Sanda Wizaya พฤศจิกายน 1710 เมษายน 1731 ผู้ชิงราชสมบัติ
จันทสุริยาที่ 3 เมษายน 1731 1734 พระชามาดา
นรธิบดีที่ 2 1734 1735 พระโอรส
Narapawara 1735 กันยายน 1737 ผู้ชิงราชสมบัติ
Sanda Wizala กันยายน 1737 25 มีนาคม 1738 พระภาดา
Madarit 28 มีนาคม 1738 6 กุมภาพันธ์ 1743 พระอนุชา
นรอภัย 6 กุมภาพันธ์ 1743 28 ตุลาคม 1761 พระปิตุลา
Thirithu 28 ตุลาคม 1761 3 กุมภาพันธ์ 1762 พระโอรส
จันทปรมะ 3 กุมภาพันธ์ 1762 1 พฤษภาคม 1764 พระอนุชา
อภัย 1 พฤษภาคม 1764 17 มกราคม 1774 พระเทวัน
Sanda Thumana 17 มกราคม 1774 5 พฤษภาคม 1777 พระเทวัน
จันทวิมาลาที่ 2 6 พฤษภาคม 1777 5 มิถุนายน 1777 ผู้ชิงราชสมบัติ
Sanda Thaditha 5 มิถุนายน 1777 1 ธันวาคม 1782 ผู้ชิงราชสมบัติ
Maha Thammada 2 ธันวาคม 1782 2 มกราคม 1785 หลานเขย

แปร (ค.ศ. 1482–1542)

[แก้]
ดู รายชื่อผู้ปกครองแปร สำหรับผู้ปกครองแปรช่วงปลายอาณาจักรพุกามจนถึงต้นยุคราชวงศ์ตองอู
พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
พระเจ้าธาโดมินสอ 1482 1526 พระโอรสของพระเจ้านรปติที่ 1 แห่งอังวะ
พระเจ้าบยินธเว 1526 ประมาณ ธันวาคม 1532 พระโอรส
พระเจ้านรปติแห่งแปร ประมาณ ธันวาคม 1532 กุมภาพันธ์ 1539 พระโอรส
พระเจ้ามังฆ้องแห่งแปร กุมภาพันธ์ 1539 19 พฤศภาคม 1542 พระอนุชา

ตองอู (ค.ศ. 1510–1752)

[แก้]
ลำดับ พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล หมายเหตุ
1 พระเจ้าเมงจีโย (ไทย: พระเจ้าสิริชัยสุระ)
(อักษรโรมัน: Mingyinyo, พม่า: မင်းကြီးညို)
พ.ศ. 2029 พ.ศ. 2074

(45 ปี)

รวบรวมพม่าหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกาม สถาปนาราชวงศ์ตองอู แยกตัวออกจากอาณาจักรอังวะ
2 พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
(อักษรโรมัน: Tabinshwehti, พม่า: တပင်‌ရွှေထီး)
พ.ศ. 2074 พ.ศ. 2094

(20 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าเมงจีโย ยึดและย้ายเมืองหลวงมายังกรุงหงสาวดี ขยายอาณาจักรไปยังยะไข่ พะสิม แปร เมาะตะมะ ฯลฯ ทำสงครามกับอาณาจักรอยุธยาเป็นครั้งแรก
3 พระเจ้าบุเรงนอง
(อักษรโรมัน: Bayinnaung, พม่า: ဘုရင့်နောင်)
พ.ศ. 2094 พ.ศ. 2124

(30 ปี)

พระเทวันในพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พิชิตอาณาจักรอยุธยา ล้านนา ล้านช้าง มณีปุระ ไทใหญ่
4 พระเจ้านันทบุเรง
(อักษรโรมัน: Nanda Bayin, พม่า: နန္ဒဘုရင်)
พ.ศ. 2124 พ.ศ. 2142

(18 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าบุเรงนอง และพระภาคิไนยในพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
5 พระเจ้าญองยาน
(อักษรโรมัน: Nyaungyan Min, พม่า: ညောင်ရမ်းမင်း)
พ.ศ. 2142 พ.ศ. 2149

(7 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าบุเรงนอง และพระราชอนุชาต่างพระราชมารดาในพระเจ้านันทบุเรง
6 พระเจ้าอะเนาะเพะลูน
(อักษรโรมัน: Anaukpetlun, พม่า: အနောက်ဖက်လွန်)
พ.ศ. 2149 พ.ศ. 2171

(22 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าญองยาน
7 พระเจ้ามีนเยเดะบะ
(อักษรโรมัน: Minyedeippa, พม่า: မင်းရဲဒိဗ္ဗ)
พ.ศ. 2171 พ.ศ. 2172

(1 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าอะเนาะเพะลูน
8 พระเจ้าตาลูน
(อักษรโรมัน: Thalun, พม่า: သာလွန်မင်း)
พ.ศ. 2172 พ.ศ. 2191

(19 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าญองยาน และพระปิตุลาในพระเจ้ามีนเยเดะบะ
9 พระเจ้าปีนดะเล
(อักษรโรมัน: Pindale, พม่า: ပင်းတလဲမင်း)
พ.ศ. 2191 พ.ศ. 2204

(13 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าตาลูน
10 พระเจ้าปเย
(อักษรโรมัน: Pye, พม่า: ပြည်မင်း)
พ.ศ. 2204 พ.ศ. 2215

(11 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าตาลูน และพระราชอนุชาในพระเจ้าปีนดะเล
11 พระเจ้านะราวะระ
(อักษรโรมัน: Narawara, พม่า: နရာဝရ)
พ.ศ. 2215 พ.ศ. 2216

(1 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าปเย
12 พระเจ้ามังกะยอดิน
(อักษรโรมัน: Minyekyawdin, พม่า: မင်းရဲကျော်ထင်)
พ.ศ. 2216 พ.ศ. 2241

(25 ปี)

13 พระเจ้าสเน่ห์มิน
(อักษรโรมัน: Sanay, พม่า: စနေမင်း)
พ.ศ. 2241 พ.ศ. 2257

(16 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้ามังกะยอดิน
14 พระเจ้าตะนินกันเหว่
(อักษรโรมัน: Taninganway, พม่า: တနင်္ဂနွေမင်း)
พ.ศ. 2257 พ.ศ. 2276

(19 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าสเน่ห์มิน
15 พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี
(อักษรโรมัน: Mahadhammaraza Dipadi, พม่า: မဟာဓမ္မရာဇာဓိပတိ)
พ.ศ. 2276 พ.ศ. 2295

(19 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าตะนินกันเหว่
พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล ความสัมพันธ์
สมิงทอพุทธกิตติ 8 ธันวาคม 1740 มกราคม 1747

(6 ปี)

พระราชภราดรของพระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี
พญาทะละ (พญาทะละ) มกราคม 1747 6 พฤษภาคม 1757

(10 ปี)

พระชามาดา

โก้นบอง (ค.ศ. 1752–1885)

[แก้]
ลำดับ พระนาม รูป เริ่มครองราชย์ สิ้นรัชกาล หมายเหตุ
1 พระเจ้าอลองพญา
(อักษรโรมัน: Alaungpaya, พม่า: အလောင်းဘုရား)
พ.ศ. 2295 พ.ศ. 2303

(8 ปี)

สถาปนาราชวงศ์คองบอง
2 พระเจ้ามังลอก (พระเจ้านองดายี)
(อักษรโรมัน: Naungdayi, พม่า: နောင်တော်ကြီးမင်း
พ.ศ. 2303 พ.ศ. 2306

(3 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าอลองพญา
3 พระเจ้ามังระ (พระเจ้าเซงพยูเชง)
(อักษรโรมัน: Hsinbyushin, พม่า: ဆင်ဖြူရှင်
พ.ศ. 2306 พ.ศ. 2319

(13 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าอลองพญา และพระราชอนุชาในพระเจ้ามังลอก ตีกรุงศรีอยุธยาแตกในปี พ.ศ. 2310
4 พระเจ้าจิงกูจา
(อักษรโรมัน: Singu Min, พม่า: အလောင်းဘုရား
พ.ศ. 2319 พ.ศ. 2325

(6 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้ามังระ
5 พระเจ้าหม่องหม่อง
(อักษรโรมัน: Maung Maung, พม่า: အလောင်းဘုရား
พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2325

(11 วัน)

พระราชโอรสในพระเจ้ามังลอก ครองราชได้ 11 วัน จึงถูกพระเจ้าปดุงที่ร่วมมือกับอะแซหวุ่นกี้ยึดอำนาจและประหารชีวิต
6 พระเจ้าปดุง (พระเจ้าโบดอพญา)
(อักษรโรมัน: Bodawpaya, พม่า: အလောင်းဘုရား
พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2362

(38 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าอลองพญา และพระปิตุลาในพระเจ้าหม่องหม่อง
7 พระเจ้าจักกายแมง (พระเจ้าบายีดอ)
(อักษรโรมัน: Bagyidaw, พม่า: ဘကြီးတော
พ.ศ. 2362 พ.ศ. 2380

(18 ปี)

พระราชนัดดาในพระเจ้าปดุง พม่าแพ้ในสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่ 1
8 พระเจ้าแสรกแมง (พระเจ้าสาราวดีมินทร์)
(อักษรโรมัน: Tharrawaddy Min, พม่า: သာယာဝတီမင်း
พ.ศ. 2380 พ.ศ. 2389

(9 ปี)

พระราชอนุชาในพระเจ้าจักกายแมง
9 พระเจ้าพุกาม
(อักษรโรมัน: Pagan Min, พม่า: ပုဂံမင်း
พ.ศ. 2389 พ.ศ. 2396

(7 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าแสรกแมง พม่าแพ้ในสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่ 2
10 พระเจ้ามินดง
(อักษรโรมัน: Mindon Min, พม่า: မင်းတုန်းမင်း
พ.ศ. 2396 พ.ศ. 2421

(25 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้าแสรกแมง
11 พระเจ้าสีป่อ
(อักษรโรมัน: Thibaw Min, พม่า: သီပေါမင်း
พ.ศ. 2421 พ.ศ. 2428

(7 ปี)

พระราชโอรสในพระเจ้ามินดง เสียเมืองแก่อังกฤษ ถูกเนรเทศไปอินเดียและสวรรคตที่นั่น

ผู้อ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์พม่า (ตั้งแต่ ค.ศ. 1885)

[แก้]
ลำดับ พระนาม รูป เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 พระเจ้าสีป่อ
(อักษรโรมัน: Thibaw Min, พม่า: သီပေါမင်း
พ.ศ. 2428 พ.ศ. 2459
2 เจ้าหญิงเมียะพะยาละ
(อักษรโรมัน: Myat phya Lat, พม่า: မြတ်ဘုရားလတ်
พ.ศ. 2459 พ.ศ. 2499 พระราชธิดาในพระเจ้าสีป่อ
3 ตอพะย่า
(อักษรโรมัน: Taw phya, พม่า: တော်ဘုရား
พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2562 พระภาคิไนยในเจ้าหญิงเมียะพะยาละ
4 โซ่วี่น
(อักษรโรมัน: Soe Win, พม่า: စိုးဝင်း
พ.ศ. 2562 พระภาติยะในตอพะย่า

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Htin Aung 1970: 40–44
  2. Than Tun 1959: 123–131
  3. See (Maha Yazawin Vol. 1 2006: 352–355) for a comparative table of Ava period regnal dates as given in Maha Yazawin, Myanmar Yazawin Thit, Hmannan Yazawin and Zatadawbon Yazawin.