King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang | |
![]() | |
ชื่อเดิม | สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
---|---|
ชื่อย่อ | สจล. / KMITL |
คติพจน์ | การศึกษา วิจัย ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ |
ประเภท | สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ |
สถาปนา | 24 สิงหาคม พ.ศ. 2503 |
สังกัดการศึกษา | กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม |
สังกัดวิชาการ |
|
งบประมาณ | 2,208,127,100 บาท (พ.ศ. 2568)[1] |
นายกสภาสถาบัน | ศาสตราจารย์พิเศษ กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ |
อธิการบดี | รองศาสตราจารย์ คมสัน มาลีสี |
อาจารย์ | 1,211 คน (พ.ศ. 2566) |
บุคลากรทั้งหมด | 2,500 คน (พ.ศ. 2566) |
ผู้ศึกษา | 29,030 คน (พ.ศ. 2567) |
ที่ตั้ง |
|
วิทยาเขต | พื้นที่และวิทยาเขต 2
|
สี | สีแสด-สีขาว |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ของสถาบัน |
![]() |
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (อังกฤษ: King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang; อักษรย่อ: สจล. – KMITL) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น (มหาวิทยาลัยโตไก) โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2551[2] โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การศึกษา การค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีเพื่อความก้าวหน้า ทางอุตสาหกรรม และ เศรษฐกิจของประเทศเดิมที สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514 ด้วยการรวม วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน โดยแต่ละแห่งมีฐานะเป็นวิทยาเขต วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี เป็นสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตนนทบุรี และในปีเดียวกันนั้นได้ย้ายไปที่ อำเภอลาดกระบัง เป็นวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประกอบด้วยพระนาม "พระจอมเกล้า" ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานตามพระบรมนามาภิไธย แห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และมีพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตรา "พระมหามงกุฎ" มาเป็นสัญลักษณ์แห่งสถาบันฯ ด้วย นับเป็นสิ่งอันศักดิ์สิทธิ์ และเป็นมหามงคลยิ่งส่วนคำว่า "เจ้าคุณทหาร" นั้น มีไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ท่านเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "เจ้าคุณทหาร" ตามที่ ท่านเลี่ยม พรตพิทยพยัต ทายาทของท่านได้แจ้งความประสงค์ไว้ในการบริจาคที่ดิน อันเป็นที่ตั้งของสถาบันฯ ในปัจจุบัน
การบริจาคที่ดิน 1,041 ไร่ ให้กระทรวงศึกษาธิการ ในสมัยที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นปลัดกระทรวง เพื่อจัดตั้งวิทยาลัยเจ้าคุณทหารเป็นอนุสรณ์แด่ท่านเจ้าคุณทหาร และเพื่อสร้างสถาบันฯ นั้น มี เขียน ขำปัญญา ครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนพรตพิทยพยัต เป็นผู้ประสานงาน[3]
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า "พระจอมเกล้าลาดกระบัง" มีประวัติความเป็นมาและเหตุการณ์สำคัญ ดังนี้
ลำดับ | รูป | ชื่ออธิการบดี | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ |
---|---|---|---|---|
1 | รองศาสตราจารย์ โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ | พ.ศ. 2529 | พ.ศ. 2535 | |
2 | ศาสตราจารย์ ไพรัช ธัชยพงษ์ | พ.ศ. 2535 | พ.ศ. 2541 | |
3 | รองศาสตราจารย์ ประกิจ ตังติสานนท์ | พ.ศ. 2541 | พ.ศ. 2547 | |
- | ศาสตราจารย์ ภาวิช ทองโรจน์ (รักษาราชการแทน) |
พ.ศ. 2547 | พ.ศ. 2548 | |
4 | รองศาสตราจารย์ กิตติ ตีรเศรษฐ | 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 | 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 | |
5 | ศาสตราจารย์ ถวิล พึ่งมา | 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556[4] | |
- | ศาสตราจารย์ โมไนย ไกรฤกษ์ (รักษาราชการแทน) |
28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 | 30 เมษายน พ.ศ. 2558 | |
- | ![]() |
ศาสตราจารย์ สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ (รักษาราชการแทน) |
1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 |
6 | ศาสตราจารย์ สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558[5] | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2562 | |
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563[6] | 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | |||
- | รองศาสตราจารย์ อนุวัฒน์ จางวนิชเลิศ (รักษาราชการแทน) |
13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 | |
7 | รองศาสตราจารย์ คมสัน มาลีสี | 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2565[7] | ปัจจุบัน |
ปัจจุบัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเปิดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก มีทั้งหลักสูตรทั่วไป หลักสูตรภาคสมทบ และหลักสูตรนานาชาติ ประกอบด้วยคณะทั้งหมด 8 คณะ 4 วิทยาลัย ได้แก่
คณะ | ระดับปริญญาตรี | ระดับปริญญาโท | ระดับปริญญาเอก |
---|---|---|---|
คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
|
|
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
|
|
|
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี |
|
1. หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 3 หลักสูตร
|
1. หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต มี 2 หลักสูตร
2. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มี 3 หลักสูตร
|
คณะวิทยาศาสตร์ |
|
|
|
คณะศิลปศาสตร์ |
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
หลักสูตรในอนาคต
|
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
|
โครงการหลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
คณะเทคโนโลยีการเกษตร | หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต[9]
|
วิทยาศาสตร์
|
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
|
คณะอุตสาหกรรมอาหาร |
|
|
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
|
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ |
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
|
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
| |
คณะบริหารธุรกิจ |
|
|
|
วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง |
Bachelor of Engineering Program in Manufacturing System Engineering
|
Master degree program:
|
Doctor of Philosophy Program in Advanced Manufacturing System Engineering (International Program)
|
วิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมวัสดุ |
|
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
|
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
|
โรงเรียนสาธิตนานาชาติพระจอมเกล้า |
- |
- |
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
|
วิทยาลัยอุตสาหกรรมการบินนานาชาติ |
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)[10]
|
||
วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต (Institute of Music Science and Engineering : IMSE) | สาขาวิชาวิศวกรรมดนตรีและสื่อประสม[11]
|
- |
|
วิทยาลัยการจัดการนวัตกรรมและอุตสาหกรรม (College of Innovation and Industrial Management) |
- |
||
คณะแพทยศาสตร์ | หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
|
- |
|
คณะทันตแพทยศาสตร์ | หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต
|
- |
|
คณะพยาบาลศาสตร์ | หลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต
|
- |
|
โครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีนวัตกรรมบูรณาการ |
- |
||
สถาบันโคเซ็นแห่งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KOSEN - KMITL) | หลักสูตรอนุปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ 5 ปี (รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่3) (หลักสูตรภาษาอังกฤษ-ญี่ปุ่น)[12]
Advanced course[12]
|
- |
ในปี พ.ศ. 2526 ทางสถาบันฯ ได้มีความเห็นว่าควรจะได้มีการขยายงานการศึกษา การวิจัย และบริการสังคมของสถาบันไป สู่ภูมิภาค จึงจัดตั้งวิทยาเขตชุมพรขึ้นในปี พ.ศ. 2533 และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนรวม พร้อมเปิดป้ายสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2541 วิทยาเขตชุมพรเปิดการเรียนการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา 2539[13]
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ตั้งอยู่ที่ ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร มีพื้นที่ 3,500 ไร่ ประกอบไปด้วย 4 ภาควิชา 15 สาขาวิชาดังนี้
ภาควิชา | ปริญญาตรี | บัณฑิตศึกษา |
---|---|---|
วิศวกรรมศาสตร์ |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
|
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
|
เทคโนโลยีการเกษตร |
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
|
วิทยาศาสตร์ |
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
|
บริหารธุรกิจ |
บริหารธุรกิจบัณฑิต
|
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
|
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน แบ่งโดยถนนฉลองกรุงและทางรถไฟสายตะวันออก
ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตของสถาบัน โดยพิธีพระราชทานปริญญาบัตรนั้น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จัดที่ KMITL Convention Hall หอประชุมเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)
1. รถไฟสายตะวันออก
2. รถโดยสารประจำทาง
3. รถสองแถว
4. รถยนต์ส่วนตัว
5. รถตู้ปรับอากาศ
6. อากาศยาน
อยู่ห่างสนามบินสุวรรณภูมิประมาณ 5 กิโลเมตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยชั้นแนวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย และหนังสือพิมพ์ชั้นนำของอเมริกายกย่องให้เป็น 1 ใน 5 มหาวิทยาลัยที่เติบโตเร็วที่สุดในอาเซียน สจล. มีศักยภาพสูงเป็นที่ยอมรับทางด้านสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ (อันดับ 2 (ร่วม)) วิทยาศาสตร์ (อันดับ 2 (ร่วม)) คอมพิวเตอร์ (อันดับ 1 (ร่วม)) เทคโนโลยี (อันดับ 2 (ร่วม)) และนวัตกรรม มาอย่างยาวนานทั้งในประเทศและนานาชาติ ได้รับการจัดอันดับจากองค์กรจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลกมากมาย เช่น Times Higher Education (THE) , QS University Rankings , Webometrics Ranking เป็นต้น ซึ่งสถาบันได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพสูง และมีผลงานด้านการวิจัย ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ จนทำให้ผลงานเป็นที่ประจักษ์ ทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก อาทิ เช่น
ระดับประเทศ
ระดับนานาชาติและระดับโลก
รายชื่อศิษย์เก่า | ผลงาน |
---|---|
สมศักดิ์ เทพสุทิน |
|
ศรีเมือง เจริญศิริ |
|
สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ |
|
ก่อแก้ว พิกุลทอง |
|
สงกรานต์ จิตสุทธิภากร |
|
ภิมุข สิมะโรจน์ |
|
ศรีศักดิ์ ว่องส่งสาร |
|
สันติ พร้อมพัฒน์ | |
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน |
|
พิชิต ชื่นบาน |
|
ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ |
|
ปรีชาพล พงษ์พานิช | |
อนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด |
|
ชนาพรรณ จึงรุ่งเรืองกิจ |
|
กฤชนนท์ อัยยปัญญา |
|
วัลลภ สุระกำพลธร |
|
เหรียญชัย เรียววิไลสุข |
|
อมรเทพ จิรัฐิติเจริญ |
|
นงลักษณ์ วัชระเกียรติพงษ์ |
|
พล.ต.ต อาคม ไตรพยัคฆ์ |
|
พล.ต.อ.กวี สุภานันท์ |
|
ปกรณ์ อาภาพันธุ์ |
|
สิทธิพร ชาญนำสิน |
|
อดิสร เตือนตรานนท์ |
|
สุธี ผู้เจริญชนะชัย |
|
ยุทธนา ตันติวิวัฒน์ |
|
สุชาติ สุชาติเวชภูมิ |
|
ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล |
|
สุเจตน์ จันทรังษ์ |
|
อธิคม ฤกษบุตร |
|
จิรยุทธ์ มหัทธนกุล |
|
เผ่าภัค ศิริสุข |
|
ประภาษ ไพรสุวรรณา |
|
พิชญะ จันทรานุวัฒน์ |
|
อารดา เฟื่องทอง |
|
สมศักดิ์ ตริยานุรักษ์ |
|
กิตติ เพ็ชรสันทัด |
|
ชินนาฎ คุณเจริญ |
|
ปนิธิ เสมอวงษ์ |
|
กิตติ ตีรเศรษฐ |
|
ถวิล พึ่งมา |
|
สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ |
|
ประกิจ ตังติสานนท์ |
|
ปิติ สุคนธสุขกุล |
|
พิชิต ลำยอง |
|
ปรมินทร์ อินโสม |
|
พิรดา เตชะวิจิตร์ |
|
นิพนธ์ เจริญกิจการ |
|
ธนภัทร์ วานิชานนท์ |
|
วรวิทย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา |
|
เวคิน ปิยรัตน์ |
|
วันชัย ไพจิตโรจนา |
|
สัญญา มิตรเอม |
|
เอกจิตต์ จึงเจริญ |
|
วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ |
|
ดนัย วันทนาการ |
|
วันประชา เชาวลิตวงศ์ |
|
ภากร ปีตธวัชชัย |
|
ประสพสุข ดำรงชิตานนท์ |
|
วศิน วณิชย์วรนันต์ |
|
วีรวัฒน์ ปัณฑวังกูร |
|
กิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ |
|
จิรายุทธ รุ่งศรีทอง |
|
ดนันท์ สุภัทรพันธุ์ |
|
อานนท์ ทับเที่ยง |
|
มนต์ชัย หนูสง |
|
ศักดิ์ชัย บัวมูล |
|
มนัสส์ มานะวุฒิเวช |
|
ประสิทธิ์ เลาหวิรภาพ |
|
สุระ เกนทะนะศิล |
|
สฤษดิ์ จิณสิทธิ์ |
|
ประเทศ ตันกุรานนท์ |
|
พิชิต ธันโยดม |
|
ธิติฏฐ์ นันทพัฒน์สิริ |
|
สุจิตต์ เชาว์ศิริกุล |
|
จิรศักดิ์ เยาว์วัชสกุล |
|
ชินวัชร์ สุรัสวดี |
|
วันฉัตร ผดุงรัตน์ |
|
ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช |
|
สราวุฒิ อยู่วิทยา |
|
ชวลิต ทิพพาวนิช |
|
วุฒิกร สติฐิต |
|
ปิติพันธ์ เทพปฏิมากร |
|
วศิน สุนทราจารย์ |
|
สุนทร เชื้อสุข |
|
รัฐพล ชื่นสมจิตต์ |
|
นพพร วิฑูรชาติ |
|
ณัฐ วงศ์พานิช |
|
พงษ์ชัย อมตานนท์ |
|
วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ |
|
ทวีวัฒน์ จันทรเสโน |
|
สุภัทร จำปาทอง |
|
ทิพวรรณ บุณย์เพิ่ม |
|
วุฒิ ด่านกิตติกุล |
|
ทรงพล ยมนาค |
|
ทวีเกียรติ ศรีสกุลเมฆี |
|
ทรงศักดิ์ เปรมสุข |
|
คืนสิทธิ์ สุวรรณวัฒกี |
|
ธนญชัย ศรศรีวิชัย |
|
ธีรชัย ศุภเมธีกูลวัฒน์ |
|
จีรเวช หงสกุล |
|
คทาทิพย์ เอี่ยมกมลา |
|
วิรัตน์ รัตตากร |
|
วิเชษฐ์ สุวิสิทฐ์ |
|
สิทธิพงศ์ ณ เชียงใหม่ |
|
คงเดช จาตุรันต์รัศมี |
|
ภาณุพล รัตนกาญจนภัทร |
|
สยาม เจริญเสียง |
|
พิชัยยุทธ์ เตชะพงษ์ |
|
สุวัฒน์ สูงเลิศส่งฟ้า |
|
ธวัชชัย พีชะพัฒน์ |
|
ปรอง กองทรัพย์โต |
|
สุนทรียา วงศ์ศิริกุล |
|
ธนวัฒน์ เลิศวัฒนารักษ์ |
|
ปิยดา เจริญสิริสมบูรณ์ |
|
จิรยุทธ์ กาญจนมยูร |
|
วีระ อารีรัตนศักดิ์ |
|
ธารา บัวคำศรี |
|
มนตรี วิบูลยรัตน์ |
|
ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย |
|
กิตติชัย วัชรเวชศฤงคาร |
|
ภราดร จินขุนทอง |
|
ศรุต ทับลอย |
|
ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์ |
|
พิชพิมพ์ ปัทมสัตยาสนธิ |
|
วีรพันธ์ อังสุมาลี |
|
รังสรรค์ พรมประสิทธิ์ |
|
สุรเชษฐ์ ภาณุพัฒนา |
|
รุ่งโรจน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์ |
|
ชาติฉกาจ ไวกวี |
|
ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ |
|
ทศพร อาชวานันทกุล |
|
อนุสรณ์ มณีเทศ |
|
เจตมนต์ มละโยธา |
|
ชาราฎา อิมราพร |
|
สิทธิ ภาณุพัฒนพงศ์ |
|
ศรีฟ้า จันทร์ทองวัฒนา |
|
นภ หอยสังข์ |
|
ศากุน บุญอิต |
|
จิระ ด่านบวรเกียรติ |
|
จรณ โสรัตน์ |
|
ณวัสน์ ภู่พันธัชสีห์ |
|
กฤตพร มณฑีรรัตน์ |
|
นันทนัช โล่ห์สุวรรณ |
|
เทพกิจ ฉัตรสุริยาวงศ์ |
|
กานต์ธีรา วัชรทัศนกุล |
|
วิชญ วัฒนศัพท์ |
|
ดุลยพล ศรีจันทร์ |
|
อารียา ศิลปนาวา |
|
ชลากรณ์ ปัญญาโฉม |
|
สุทัศน์ คงดำรงเกียรติ |
|
สุรศักดิ์ เอิบสิริสุข |
|
วิทวัส เรืองปัญญาวุฒิ |
|
สมบูรณ์ ทรงพิพัฒน์ |
|
จิรพัฒน์ จันทร์เจิดศักดิ์ |
|
ตราวุทธิ์ เหลืองสมบูรณ์ |
|
ธีระชัย รัตนกมลพร |
|
วรเดช เปี่ยมสุวรรณ |
|
บุญศักดิ์ เกียรติจรูญ |
|
สุรวีย์ ชัยธำรงค์กุล |
|
บุญธรรม หาญพาณิชย์ |
|
วิชัย สุขประเสริฐกุล |
|