สายสีเขียว (องค์การขนส่งอ่าวแมสซาชูเซตส์)

สายสีเขียว
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของMBTA
ที่ตั้งบอสตัน
ปลายทาง
จำนวนสถานี66
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟฟ้ารางเบา
เส้นทาง
  • "B"
  • "C"
  • "D"
  • "E"
ผู้ดำเนินงานMBTA
ขบวนรถKinki Sharyo Type 7
AnsaldoBreda Type 8
ผู้โดยสารต่อวัน221,900 คน[1]
ประวัติ
เปิดเมื่อค.ศ. 1897
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง23 ไมล์ (37 กิโลเมตร)[2]
ลักษณะทางวิ่งใต้ดิน, เสมอระดับ, ยกระดับ
รางกว้าง4 ft 8 12 in (1,435 mm) สแตนดาร์ดเกจ
รัศมีดัดโค้งต่ำสุด10 m (32.808 ft)[3]
ระบบจ่ายไฟเหนือหัว

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีเขียว เป็นเส้นทางรถไฟฟ้ารางเบาในระบบการคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ นครบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เป็นเส้นทางที่เก่าแก่ที่สุด รู้จักกันในชื่อ "เดอะที" ทางวิ่งส่วนใหญ่เป็นทางใต้ดินและเสมอระดับ ผู้โดยสาร 221,900 คนต่อวัน[1] ได้ใช้สีเขียวประจำเส้นทางในปี ค.ศ. 1967[4] และมีสายย่อยอีก 4 สาย ได้แก่ สายย่อย B, C, D และ E

รายชื่อสถานี

[แก้]
สถานี ที่ตั้ง เวลาในการเดินทางไปยังสถานีปาร์คสตรีท[5] เปิดให้บริการ จุดเชื่อมต่อและหมายเหตุ ภาพ
เส้นทางหลัก
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้ สถานีเลชเมียร์ ถนนแคมบริดส์ 12-13 นาที 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1922 ปลายทางสาย E
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้ สถานีไซแอนซ์ปาร์ค พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และสะพานข้ามแม่น้ำชาร์ลส์ 8 นาที 20 สิงหาคม ค.ศ. 1955 สถานียกระดับเพียงแห่งเดียวของเส้นทาง
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้ สถานีนอร์ท ถนนคาแนล 28 มิถุนายน ค.ศ. 2004 สถานีปลายทางสาย C
รถไฟใต้ดินอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีส้ม
รถไฟชานเมืองอ่าวแมสซาชูเซตส์
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้ สถานีเฮย์มาร์เก็ต ถนนคอนเกรส ถนนนิวซัดเบอรี 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1971 รถไฟใต้ดินอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีส้ม
สถานีกอฟวึ่นเมนต์เซ็นเตอร์ ถนนเตรมอนต์ ถนนคอร์ท ถนนแคมบริดส์ 2 นาที 3 กันยายน ค.ศ. 1898 ปลายทางสาย B และ D
เชื่อมต่อกับรถไฟใต้ดินอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีน้ำเงิน
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้ สถานีปาร์คสตรีท ถนนปาร์ค 0 นาที 1 กันยายน ค.ศ. 1897 รถไฟใต้ดินอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีแดง, รถไฟใต้ดินอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีส้ม, รถโดยสารประจำทางอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีเงิน
สถานีบอลส์สตัน ถนนเตรมอนต์และบอลส์สตัน 1 นาที รถโดยสารประจำทางอ่าวแมสซาชูเซตส์ สายสีเงิน
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้ สถานีอาร์ลิงตัน ถนนบอลตันและอาร์ลิงตัน 3 นาที 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้สถานีคอปเลย์ ถนนบอลสตัน
จัตุรัสคอปเลย์
4 นาที 3 ตุลาคม ค.ศ. 1914 ชุมทางร่วมกับสาย E
สถานีฮีนส์คอนเวนชันเซ็นเตอร์ ถนนนิวเบอรีและถนนแมสซาชูเซตส์ ชื่อเดิม "แมสซาชูเซตส์" ยกเลิกให้บริการเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2006
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้สถานีเคนมอร์ จัตุรัสเคนมอร์ 12 นาที 23 ตุลาคม ค.ศ. 1932 ชุมทางของเส้นทาง B, C, D
เส้นทาง E
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้สถานีพรูเดนเชียล ถนนฮันติงตัน 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941 เส้นทาง E
ชื่อเดิม "เมคานิกส์"
สถานีซิมโพนี ถนนฮันติงตัน, ถนนแมสซาชูเซตส์ เส้นทาง E
เส้นทาง D
บุคคลพิการและผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สามารถเข้าถึงได้สถานีริเวอร์ไซด์ Auburndale ใน Newton 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 สถานีปลายทาง

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Dickens, Matthew (24 May 2013). "Transit Ridership Report: First Quarter 2013" (PDF). American Public Transportation Association. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
  2. "Ridership and Service Statistics" (PDF). Massachusetts Bay Transportation Authority. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-08-13. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
  3. Booz • Allen & Hamilton Inc. (1995). "Applicability of Low-Floor Light Rail Vehicles in North America" (PDF). Transit Cooperative Research Program. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
  4. Kleespies, Gavin W. and MacDonald, Katie. "Transportation History". Harvard Square Business Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-08. สืบค้นเมื่อ 4 October 2011.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. Association for Public Transportation, Car-Free in Boston, A Guide for Locals and Visitors, 10th ed. (2003), p. 117.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]