สายโลหิต

สายโลหิต
แนวย้อนยุค, ชีวิต, รัก, โลดโผน
บทประพันธ์โสภาค สุวรรณ
บทละครโทรทัศน์พ.ศ. 2529
นิรุต สังตสุวรรณ
พ.ศ. 2538
ศัลยา
พ.ศ. 2546
ดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์
พ.ศ. 2561
ศัลยา
กำกับโดยพ.ศ. 2529
สุพรรณ บูรณพิมพ์
มีศักดิ์ นาครัตน์
พ.ศ. 2538
สยาม สังวริบุตร
พ.ศ. 2546
คฑาเทพ รัตนอุดม
พ.ศ. 2561
สยาม สังวริบุตร
เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน
แสดงนำพ.ศ. 2529
ฉัตรชัย เปล่งพานิช
นพพล โกมารชุน
อาภาพร กรทิพย์
ขวัญฤดี กลมกล่อม
พ.ศ. 2538
ศรราม เทพพิทักษ์
อภิชาติ หาลำเจียก
ศตวรรษ ดุลยวิจิตร
สุวนันท์ คงยิ่ง
พ.ศ. 2546
พุฒิชัย อมาตยกุล
วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย
พิมลรัตน์ พิศลยบุตร
พิมประภา ตั้งประภาพร
พ.ศ. 2561
ศรัณย์ ศิริลักษณ์
ชนะพล สัตยา
ทิสานาฏ ศรศึก
ณัฐชา นวลแจ่ม
ผู้ประพันธ์ดนตรีแก่นเรื่องพ.ศ. 2529
เพลงไตเติ้ล
เนื้อร้อง/ทำนอง
มีศักดิ์ นาครัตน์
เรียบเรียง
ธนิต เชิญพิพัฒธนสกุล
พ.ศ. 2538
สายโลหิต
เนื้อร้อง/ทำนอง
สุทธิพงษ์ วัฒนจัง
เรียบเรียง
ธนิต เชิญพิพัฒธนสกุล
พ.ศ. 2546
ค่ำคืนแห่งจันทร์
เนื้อร้อง/ทำนอง
ยรรยง กนกโชติ
พ.ศ. 2561
เสียงกองทัพ
เนื้อร้อง/ทำนอง
สุรพันธ์ ชาญวิชณานันต์
เรียบเรียง
Mr.Fungdoo
รักให้เจ้า ชีวิตนี้ให้แผ่นดิน
เนื้อร้อง/ทำนอง
สุทธิพงษ์ วัฒนจัง
เรียบเรียง
Mr.Fungdoo
ดนตรีแก่นเรื่องเปิดพ.ศ. 2529
เพลงไตเติ้ล
ขับร้องโดย
เลียงทองคอรัส
พ.ศ. 2538
สายโลหิต
ขับร้องโดย
สุทธิพงษ์ วัฒนจัง
พ.ศ. 2546
ค่ำคืนแห่งจันทร์
ขับร้องโดย
ฐิติยา อรรถากร
พ.ศ. 2561
เสียงกองทัพ
ขับร้องโดย
ศรัณย์ ศิริลักษณ์
ดนตรีแก่นเรื่องปิดพ.ศ. 2529
เพลงไตเติ้ล
ขับร้องโดย
เลียงทองคอรัส
พ.ศ. 2538
ความรัก ไม่มีวันละลาย
ขับร้องโดย
พีระพงศ์ พลชนะ
จิณณา เชิญพิพัฒธนสกุล
พ.ศ. 2546
ค่ำคืนแห่งจันทร์
ขับร้องโดย
ฐิติยา อรรถากร
พ.ศ. 2561
รักให้เจ้า ชีวิตนี้ให้แผ่นดิน
ขับร้องโดย
สุทธิพงษ์ วัฒนจัง
ภาษาต้นฉบับไทย ไทย
จำนวนตอนพ.ศ. 2529
ตอน
พ.ศ. 2538
27 ตอน
33 ตอน (ถ้าเพิ่มจำนวนตอน)
พ.ศ. 2546
13 ตอน
พ.ศ. 2561
16 ตอน
การผลิต
ควบคุมงานสร้างพ.ศ. 2529
สุพรรณ บูรณะพิมพ์
พ.ศ. 2538
สุรางค์ เปรมปรีดิ์
พ.ศ. 2546
บางกอกการละคอน
สุพล วิเชียรฉาย
พ.ศ. 2561
บอร์ดคณะกรรมการบริหารช่อง 7
สยาม สังวริบุตร
ความยาวตอนพ.ศ. 2529 : นาที
พ.ศ. 2538 : 105 นาที
พ.ศ. 2546 : 125 นาที
พ.ศ. 2561 : 130 นาที
ออกอากาศ
สถานีโทรทัศน์พ.ศ. 2529
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
ออกอากาศพ.ศ. 2529 –
พ.ศ. 2529
สถานีโทรทัศน์พ.ศ. 2538
สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
ออกอากาศ10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 –
7 มกราคม พ.ศ. 2539
สถานีโทรทัศน์พ.ศ. 2546
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
ออกอากาศ21 ตุลาคม พ.ศ. 2546 –
2 ธันวาคม พ.ศ. 2546
สถานีโทรทัศน์พ.ศ. 2561
ช่อง 7 HD
ออกอากาศพ.ศ. 2561
22 กันยายน พ.ศ. 2561 –
27 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สายโลหิต เป็นนวนิยายไทยประพันธ์โดย โสภาค สุวรรณ ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณกรรม ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร สตรีสาร เมื่อ พ.ศ. 2519 เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยา (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18)[1] นวนิยายเรื่องนี้ได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ถึง 4 ครั้ง (พ.ศ. 2529, 2538, 2546, 2561) นวนิยายเรื่องนี้จัดพิมพ์ครั้งที่ 12 และยังคงเป็นที่รักของแฟน ๆ ทั่วโลก

การดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์

[แก้]

นวนิยายเรื่องสายโลหิตได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 4 ครั้ง โดยครั้งแรกออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2529 สร้างโดยสุพรรณ บูรณะพิมพ์ นำแสดงโดยฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบท ขุนไกร, อาภาพร กรทิพย์ รับบท ดาวเรือง, นพพล โกมารชุน รับบท หมื่นทิพเทศา / หมื่นทิพ และ อำภา ภูษิต รับบท แม่หญิงเยื้อน [2][3]

ครั้งที่ 2 สุรางค์ เปรมปรีดิ์ ผู้ถือลิขสิทธิ์นวนิยายในนามส่วนตัวนำมาจัดทำเป็นละครโทรทัศน์ ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เมื่อปี พ.ศ. 2538 เขียนบทโทรทัศน์โดยศัลยา ผลิตโดยบริษัทดาราวิดีโอ กำกับการแสดงโดยสยาม สังวริบุตร นำแสดงโดยศรราม เทพพิทักษ์ รับบท ขุนไกร, สุวนันท์ คงยิ่ง รับบท ดาวเรือง และศตวรรษ ดุลยวิจิตร รับบท หมื่นทิพเทศา / หมื่นทิพ ออกอากาศทุกวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เวลา 20.30 น. ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 - 7 มกราคม พ.ศ. 2539 จำนวนตอนออกอากาศถูกวางไว้เพียง 27 ตอน ดำเนินเรื่องเปิดเรื่องจนถึงตอนอวสานจบเรื่องตามบทประพันธ์ทุกประการ หมายเหตุไม่มีเพิ่มจำนวนตอนออกอากาศใดๆ เนื่องจากนโยบายของ สุรางค์ เปรมปรีดิ์ การผลิตละครโทรทัศน์ให้ยึดถือต้นฉบับบทประพันธ์เป็นหลักทุกๆ เรื่อง พยายามทำตามบทประพันธ์ให้มากที่สุด จึงไม่มีการเพิ่มจำนวนตอนใดๆทั้งสิ้น

อนึ่ง เนื่องจากละครชุดสายโลหิตฉบับปี พ.ศ. 2538 ได้รับความนิยมจากผู้ชมสูงมาก ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 จึงได้นำละครชุดนี้มาออกอากาศซ้ำอีกหลายครั้ง ดังนี้

  • ออกอากาศซ้ำครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2542
  • ออกอากาศซ้ำครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2547 โดยออกอากาศทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 13.30 น. [4]
  • ออกอากาศซ้ำครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 14 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ออกอากาศทุกวัน เวลา 20.30 น.

ครั้งที่ 3 ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2546 ดำเนินการผลิตโดย บริษัท บางกอกการละคอน จำกัด กำกับการแสดงโดยคฑาเทพ รัตนอุดม บทโทรทัศน์โดยดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์ นำแสดงโดยพุฒิชัย อมาตยกุล รับบท ขุนไกร, พิมลรัตน์ พิศลยบุตร รับบท ดาวเรือง และวรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย รับบท หมื่นทิพเทศา / หมื่นทิพ ออกอากาศทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.20 น. [5]

ครั้งที่ 4 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2561 โดยทางดาราวิดีโอได้นำกลับมาสร้างอีกครั้ง บทโทรทัศน์โดยศัลยา กำกับการแสดงโดยสยาม สังวริบุตร นำแสดงโดยศรัณย์ ศิริลักษณ์, ชนะพล สัตยา, ทิสานาฏ ศรศึก, ดวงดาว จารุจินดา, รัชนีกร พันธุ์มณี ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 20.05 น. เสาร์ อาทิตย์ 20.15 น. เริ่มออกอากาศในวันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2561 - วันเสาร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ต่อจากละคร เจ้าสาวจำยอม

รายละเอียดการสร้างละครโทรทัศน์

[แก้]
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2561
สถานีออกอากาศ ช่อง 3 ช่อง 7 ช่อง 3 ช่อง 7 เอชดี
ผู้ผลิต สุพรรณ บูรณะพิมพ์ ดาราวีดีโอ บางกอกการละคอน ดาราวิดีโอ
บทโทรทัศน์ นิรุต สังตสุวรรณ ศัลยา ดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์ ศัลยา
ผู้กำกับการแสดง สุพรรณ บูรณะพิมพ์
มีศักดิ์ นาครัตน์
สยาม สังวริบุตร คฑาเทพ รัตนอุดม สยาม สังวริบุตร
เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน
ขุนไกร / หลวงไกรสรเดช / พระสีหราชฤทธิไกร / พระยาไกรสีห์ราชภักดี (ไกร) ฉัตรชัย เปล่งพานิช ศรราม เทพพิทักษ์ (วัยหนุ่ม)
อภิชาติ หาลำเจียก (วัยกลางคน)
อครา อมาตยกุล ศรัณย์ ศิริลักษณ์
ดาวเรือง / คุณหญิงไกรสีห์ราชภักดี อาภาพร กรทิพย์
ขวัญฤดี กลมกล่อม (วัยเด็ก)
สุวนันท์ คงยิ่ง
มาติกา อรรถกรศิริโพธิ์ (วัยเด็ก)
ดวงดาว จารุจินดา (วัยกลางคน)
พิมลรัตน์ พิศลยบุตร
พิมประภา ตั้งประภาพร (วัยเด็ก)
ทิสานาฏ ศรศึก
สุภาภัสสร์ ผลเจริญรัตน์ (วัยเด็ก)
หมื่นทิพเทศา / ขุนทิพเทวา (ด้วง) นพพล โกมารชุน ศตวรรษ ดุลยวิจิตร วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย ชนะพล สัตยา
แม่หญิงเยื้อน อำภา ภูษิต อุษณีย์ รักกสิกรณ์ เขมสรณ์ หนูขาว ณัฐชา นวลแจ่ม
หลวงเทพฤทธิ์อริศัตรูพ่าย (เทพ) สมภพ เบญจาธิกุล เอกพัน บรรลือฤทธิ์ ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล อนุวัฒน์ ชูเชิดรัตนา
ลำดวน รัชนู บุญชูดวง กชกร นิมากรณ์ ธิญาดา พรรณบัว ภตภร สีบุญเรือง
พระสุวรรณราชา (พัน) อำนวย ศิริจันทร์ สรพงษ์ ชาตรี อนุสรณ์ เดชะปัญญา ศรุต วิจิตรานนท์
พันสิงห์ ไกรลาศ เกรียงไกร ทองขาว ภัทรโชคชัย ต่อตระกูล จันทิมา สุรศักดิ์ โชติทินวัฒน์
แม่ปริก พงษ์ลดา พิมลพรรณ ปนัดดา โกมารทัต ธัญญา โสภณ รชนีกร พันธุ์มณี
คุณหญิงศรีนวล รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ธัญญรัตน์ โลหะนันท์ อำภา ภูษิต ขวัญฤดี กลมกล่อม
ย่านิ่ม จุรี โอศิริ บรรเจิดศรี ยมาภัย มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช ดวงดาว จารุจินดา
ทับ กษมา นิสสัยพันธ์ กล้วย เชิญยิ้ม นึกคิด บุญทอง โชคดี ฟักภู่
เยื้อน ณัฐนี สิทธิสมาน ยุวดี เรืองฉาย
ฉันทนา กิติยพันธ์ (วัยชรา)
มัลลิกา ตั้งสงบ ทราย เจริญปุระ
อิ่ม เยาวเรศ นิสากร ไปรมา รัชตะ ชลมารค ธ เชียงทอง
ชด บุษรา นฤมิตร เมตตา รุ่งรัตน์ ณัฐมนต์ พันธุ์เพ็ง
มิ่ง ประพันธ์ ลมูลวงศ์ วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ ฐานัฐ พิมพ์ทอง ศรุต สุวรรณภักดี
มา ชูศักดิ์ สุธีรธรรม ชัยวรงค์ ช่างเกิด ฉัตรกฤษณ์ เพิ่มพานิช กฤษณนาท มะลิวัลย์
พระยาพิริยะแสนพลพ่าย ศิริ ศิริจินดา พร้อมพงษ์ นพฤทธิ์ อธิวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
อ้น พรรณี โต๊ะยานี
จุ้น ศิริวรรณ พวงทอง
หอม ศิริพร ไพบูลย์กิจกุล
โห่ อุดมศักดิ์ ต้นติพรกุศล
จัน สวีเดน ทะสานนท์
นางกุลา ณัฎฐวรรณ มังคะตะ
นางแพ้ว จรินรัตน์ ทาสี
สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) เพชรฎี ศรีฤกษ์
สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (ขุนหลวงขี้เรื้อน) ธิตินันท์ สุวรรณศักดิ์
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สุรวุฑ ไหมกัน
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล
เจ้าจอมแม้น โฉมฉาย ฉัตรวิไล กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ อิงฟ้า เกตุคำ
เจ้าจอมเพ็ง พรพรรณ เชาวฤทธิ์ พัชรศรี เบญจมาศ กัญญารัตน์ พงศ์กัมปนาท
เจ้าพระยามหาเสนา ธนภัทร สีงามรัตน์
พระยายมราช สุเชาว์ พงษ์วิไล กรุง ศรีวิไล สุธี ศิริเจริญ
พระยาพลเทพ สมควร กระจ่างศาสตร์ มานพ อัศวเทพ สมภพ เบญจาธิกุล สุเมธ องอาจ
พระยารัตนาธิเบศร์ สมควร กระจ่างศาสตร์ ศราวุฒิ ธัญญาลักษณ์ วิสรรค์ ฉัตรรังสิกุล ศุภชัย เธียรอนันต์
พระยาราชมนตรี (ปิ่น) นึกคิด บุญทอง
พระยาเพชรบุรี สุระ มูรธานนท์ ปวุติ ปรัชญาภรณ์ อนิรุต เบ็นซู (หนุ่ม เบ็นซู)
พระราชบังสันเสนา สุรจิต บุญญานนท์
พระยาท้ายน้ำ ปัญญากร ศรมยุรา
พระยาเดโช กฤตภาส จันทนะโพธิ
พระยาธรรมมาธิกรณ์ ธัญชนก ตวงมุกดา
พระยาพิชัยดาบหัก วีรวุฒิ เข้มแข็ง
พระยาอภัยนายป้อมมหาชัย นิพนธ์ จิตเกิด (กบ สักปลาคร๊าฟ)
พระวิชิตปรีชา ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย
หลวงเสนาสุรภาค (เดือน) มาฬิศร์ เชยโสภณ นนทพันธ์ ใจกันทา
ขุนรองปลัดชู ธนา สินประสาธน์ สหัสชัย ชุมรุม โอภาภูมิ ชิตาพัณณ์
ขุนบรม เอกตะวัน คุ้มชาติ
ขุนนางกรุงศรีอยุธยา ชัชฤทธิ์ วณิชย์พูลผล
พันตำรวจโทชัชวาลย์ วงศ์อาจ
ไพโรจน์ น้อยพลาย
ชาลี อิ่มมาก
พวง รุ่งรัตน์ ดวงขวัญ ชนัญญา พงษ์นาค
ยายนวล บรรเจิดศรี ยมาภัย
ยายเผื่อน รุ่งกานดา เบญจมาภรณ์
พ่อของหลวงเทพฤทธิ์อริศัตรูพ่าย (เทพ) อำนาจ อนุรักษ์ รชต สิงห์จันทร์
ลูกน้อง ขุนรองปลัดชู อาโน เบ็นซู
หลวงพ่อ บดินทร์ หมู่หมื่นศรี
นายทองเหม็น วัชรชัย สุนทรศิริ
จันทร์ (ลูกชายคนหัวปีของดาวเรือง) สพล ชนวีร์ ทินภัทร ทินกร
กลด (ลูกชายคนกลางของดาวเรือง) ธีรพัฒน์ คงสว่าง
กล้า (ลูกชายคนเล็กของดาวเรือง) เอ็กเซเวียร์ เจค๊อบสัน
บัวผัน (ลูกสาวของดาวเรือง) สิริวลี อภิชาตบุตร
พลับพลึง (ลูกสาวของดาวเรือง) พลอยไพลิน ตั้งประภาพร ปารย์ชนก ผ่านสำแดง
ชาวกรุงศรีอยุธยา จีรภัทร์ สว่างแจ้ง
พระเจ้าอลองพญา วัชรา สังข์สุวรรณ อรุชา โตสวัสดิ์
พระเจ้ามังลอก ธงชัย มาเม่น
พระเจ้ามังระ ยอดวงษ์ ยมาภัย พูลภัทร อัตถปัญญาพล
มังฆ้องนรธา สุรจิต บุญญานนท์ รอระบุ
มังมหานรธา สยาม สังวริบุตร สุระ มูรธานนท์
เนเมียวสีหบดี ธนายง ว่องตระกูล
นายทองสุก วิศิษฐ์ ยุติยงค์ สิรคุปต์ เมทะนี พลกฤษณ์ จักรสุวรรณ
นายทองอิน มีศักดิ์ นาครัตน์ แบงค์ ท้องทุ่ง
ขุนนางอังวะ วิวรรธน์ รัตนพิทักษ์
อาท ลำนารายณ์
จตุพร อนุโชค

รางวัล

[แก้]
ละครสายโลหิต ปี 2529
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลตัดสิน หมายเหตุ
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 1
ดารานำชายดีเด่น ฉัตรชัย เปล่งพานิช ชนะ [6]
นักแสดงสมทบหญิงดีเด่น จุรี โอศิริ ชนะ
ผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น สุพรรณ บูรณะพิมพ์ เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้สร้างฉากละครดีเด่น เพิ่มศักดิ์ อาบทิพย์, อภิชาติ นาคน้อย, สายัณห์ ตั้งวิชิตฤกษ์ เสนอชื่อเข้าชิง
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 6
ดาราประกอบชายดีเด่น นพพล โกมารชุน ชนะ [7]
ผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น สุพรรณ บูรณะพิมพ์ เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้ประพันธ์เพลงละครดีเด่น มีศักดิ์ นาครัตน์ เสนอชื่อเข้าชิง
ละครสายโลหิต ปี 2538
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลตัดสิน
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 10
ผู้กำกับละครดีเด่น สยาม สังวริบุตร เสนอชื่อเข้าชิง
เพลงนำละครดีเด่น สุทธิพงษ์ วัฒนจัง เสนอชื่อเข้าชิง
ดนตรีประกอบละครดีเด่น เสนอชื่อเข้าชิง
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 15
ผู้กำกับละครดีเด่น สยาม สังวริบุตร เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้กำกับรายการดีเด่น เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้เขียนบทละครดีเด่น ศัลยา เสนอชื่อเข้าชิง
เพลงนำละครดีเด่น สุทธิพงษ์ วัฒนจัง เสนอชื่อเข้าชิง
ฉากละครดีเด่น อ.สุวรรณ วังสุขจิต ชนะ
จัดเครื่องแต่งกายดีเด่น ชนะ
ละครสายโลหิต ปี 2561
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลตัดสิน อ้างอิง
ดาราวาไรตี้อวอร์ด 2019
ละครโทรทัศน์สร้างสรรค์สังคมยอดเยี่ยม รอน สังวริบุตร ชนะ
ผู้กำกับละครดีเด่น เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน ชนะ
นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ทิสานาฏ ศรศึก ชนะ
นาฏราช ครั้งที่ 10
ละครยอดเยี่ยม ดาราวิดีโอ เสนอชื่อเข้าชิง [8]
บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ศัลยา สุขะนิวัตติ์ เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้กำกับยอดเยี่ยม เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน เสนอชื่อเข้าชิง

อ้างอิง

[แก้]
  1. "นวนิยาย สายโลหิต (โสภาค สุวรรณ)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-30. สืบค้นเมื่อ 2016-11-15.
  2. สายโลหิต (พ.ศ. 2529) ออกอากาศ : ช่อง 3
  3. "ALWAYS ON MY MIND...: สายโลหิต (1995-1996)". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-26. สืบค้นเมื่อ 2015-03-26.
  4. "ละครโทรทัศน์ สายโลหิต (2538) ช่อง 7". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-05. สืบค้นเมื่อ 2012-11-05.
  5. "ละครโทรทัศน์ สายโลหิต (2546) ช่อง 3". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-17. สืบค้นเมื่อ 2007-08-17.
  6. สายโลหิต จากนวนิยายสู่ละครโทรทัศน์
  7. ฉัตรชัย-ศรราม เทียบฟอร์ม "สายโลหิต" ใครเจ๋งกว่ากัน
  8. “นาฏราชครั้งที่ ๑๐” | ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ | official | ช่องวัน 31

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]