อับดุล จาลีลุล อักบาร์ عبد الجليل الأكبر | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สุลต่านบรูไน | |||||||||
ครองราชย์ | 1598–1659 | ||||||||
ก่อนหน้า | มูฮัมมัด ฮาซัน | ||||||||
ถัดไป | อับดุล จาลิลุล จับบาร์ | ||||||||
ประสูติ | อับดุล จาลีลุล อักบาร์ อิบนู มูฮัมมัด ฮาซัน | ||||||||
สวรรคต | ค.ศ. 1659 | ||||||||
คู่อภิเษก | ราดิน มัซ อายู ซีตี ไอชะฮ์ | ||||||||
พระราชบุตร รายละเอียด |
| ||||||||
| |||||||||
ราชวงศ์ | โบลเกียห์ | ||||||||
พระราชบิดา | สุลต่านมูฮัมมัด ฮาซัน | ||||||||
ศาสนา | อิสลามนิกายซุนนี |
สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ อิบนู มูฮัมมัด ฮาซัน (มลายู: Abdul Jalilul Akbar ibnu Muhammad Hasan, عبد الجليل الأكبر ابن محمد حسن; สวรรคต ค.ศ. 1659)[1] มีอีกพระนามว่า มาร์ฮุมตูวา (Marhum Tua) เป็นสุลต่านบรูไนองค์ที่ 11.[2] ผู้ครองราชย์เป็นเวลา 61 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1598 ถึง 1659 ถือเป็นสุลต่านบรูไนที่ครองราชย์นานที่สุดในปัจจุบัน
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ทรงอภิเษกสมรสสามครั้ง โดยพระชายาองค์ที่สองคือราดิน มัซ อายู ซีตี ไอชะฮ์ บินตี เปองีรัน (กีไย) เตอเมิงกง มันจู เนอโกโร เกอรีซิก[1][3] พระองค์มีพระราชโอรสธิดารวม 8 พระองค์ โดยมีองค์สำคัญได้แก่:
ใน ค.ศ. 1599 สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ทรงแต่งตั้งเปองีรัน ราจา เตองะฮ์ อิบราฮิม อาลี โอมาร์ ชะฮ์ พระเชษฐา/อนุชา เป็นสุลต่านซาราวักองค์แรก[6] ตามธรรมเนียมระบุว่า หลังสุลต่านอิบราฮิม อาลี โอมาร์ ชะฮ์สวรรคตใน ค.ศ. 1641 ไม่มีการเลือกสุลต่านใหม่ และซาราวักจึงบริหารโดยดาตูท้องถิ่น 4 คนจนกระทั่งรายาผิวขาวคนแรกเดินทางมาถึงใน ค.ศ. 1842
สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์สวรรคตหลังครองราชย์ไป 61 ปีใน ค.ศ. 1659 หลังสวรรคต พระองค์กลายเป็นที่รู้จักในพระนาม มาร์ฮุมตูวา[7] Olivier van Noort did not mention the name of the ruling sultan at that time, but managed to describe that the Brunei sultan was under the guardianship of his uncle who acted as his regent.[8][9]
ก่อนหน้า | สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
สุลต่านมูฮัมหมัด ฮัสซัน | ![]() |
![]() สุลต่านบรูไน (ค.ศ. 1598–1659) |
![]() |
สุลต่านอับดุล จาลิลุล จับบาร์ |