หมวดหินเสาขัว แนวชั้นหิน: ยุคบาร์เรเมียน ~129–125Ma | |
---|---|
หน่วยของ | กลุ่มหินโคราช |
ข้างใต้ | หมวดหินภูพาน |
ข้างบน | หมวดหินพระวิหาร |
ความหนา | ~120 m (390 ft) |
วิทยาหิน | |
ปฐมภูมิ | หินทราย, หินกรวดมน |
อื่นๆ | หินทรายแป้ง, หินดินเหนียว |
สถานที่ | |
พิกัด | 16°42′N 102°18′E / 16.7°N 102.3°E |
ภูมิภาค | อินโดจีน |
ประเทศ | ไทย |
ขอบเขต | ที่ราบสูงโคราช |
ส่วนชนิด | |
ตั้งชื่อโดย | Ward & Bunnag |
ปีที่ตั้งชื่อ | 1964 |
หมวดหินเสาขัว เป็นสมาชิกของกลุ่มหินโคราช มีการสลับของสีแดงซีดถึงสีเทาอมเหลือง หินทรายเนื้อละเอียดถึงปานกลาง และหินตะกอนกับดินเหนียวสีน้ำตาลแดงอมเทา มีหินกรวดมนสีแดงซีดถึงสีเทาอ่อนซึ่งมีก้อนกรวดคาร์บอเนตเป็นลักษณะเฉพาะของหมวดหินนี้ หมวดหินทางธรณีวิทยานี้ในประเทศไทยนเกิดขึ้นตั้งแต่ยุคครีเทเชียสตอนต้น
ฟอสซิลไดโนเสาร์เป็นหนึ่งในฟอสซิลที่ได้รับการกพบเจอจากหมวดหินนี้[1]