อักษรชญานวัชระทรงเหลี่ยม

อักษรชญานวัชระทรงเหลี่ยม
ชนิด
ผู้ประดิษฐ์ชญานวัชระ
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษามองโกเลีย, ภาษาทิเบต, ภาษาสันสกฤต
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ISO 15924
ISO 15924Zanb (339), ​Zanabazar Square (Zanabazarin Dörböljin Useg, Xewtee Dörböljin Bicig, Horizontal Square Script)
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Zanabazar Square
ช่วงยูนิโคด

อักษรซานาบาซาร์ (มองโกเลีย: Занабазар) หรือ อักษรชญานวัชระ (สันสกฤต: ज्ञानवज्र, Jñānavajra) เป็นอักษรทรงเหลี่ยมแนวนอน (𑨢𑨆𑨏𑨳𑨋𑨆𑨬𑨳, มองโกเลีย: Хэвтээ Дөрвөлжин бичиг, Хэвтээ Дөрвөлжин Үсэг) ใช้สำหรับเขียนภาษามองโกเลียในแนวนอน และยังอาจใช้เขียนภาษาทิเบตและภาษาสันสกฤตได้ด้วย อักษรชนิดนี้เป็นอักษรในตระกูลอักษรพราหมี มีพื้นฐานมาจากอักษรทิเบตและคล้ายคลึงกับอักษรพักปา[1][2]

อักษรนี้ได้รับการคิดค้นโดยชญานวัชระ พระทิเบตชาวมองโกเลีย และเขายังได้สร้างอักษรสวยัมภูขึ้นมาด้วยในเวลาเดียวกันในปี 1686 ซึ่งเป็นรัชสมัยของจักรพรรดิคังซี ช่วงต้นยุคราชวงศ์ชิง

ตัวอักษร

[แก้]

สระ

[แก้]
สระของตัวอักษรซานาบาซาร์ทรงเหลี่ยม
ชนิด อักษร ชื่อ XML หมายเหตุ
สระ 𑨀 A & #x11A00;
สระที่ใส่ 𑨁 I & #x11A01;
𑨂 UE & #x11A02;
𑨃 U & #x11A03;
𑨄 E & #x11A04;
𑨅 OE & #x11A05;
𑨆 O & #x11A06;
𑨇 AI & #x11A07; ยังอาจใช้เป็นเสียงควบ '-I' ด้วย
𑨈 AU & #x11A08; ยังอาจใช้เป็นแสดงเสียงควบ '-U' ด้วย
𑨉 REVERSED I & #x11A09; ใช้ในภาษาสันสกฤต
สระเสียงยาว 𑨊 VOWEL LENGTH MARK & #x11A0A; ใช้ใส่เพื่อให้เป็นสระเสียงยาว

พยัญชนะ

[แก้]
พยัญชนะตัวอักษรซานาบาซาร์ทรงเหลี่ยม
อักษร ชื่อ XML หมายเหตุ
𑨋 KA 𑨋
𑨌 KHA 𑨌
𑨍 GA 𑨍
𑨎 GHA 𑨎
𑨏 NGA 𑨏
𑨐 CA 𑨐
𑨑 CHA 𑨑
𑨒 JA 𑨒
𑨓 NYA 𑨓
𑨔 TTA 𑨔
𑨕 TTHA 𑨕
𑨖 DDA 𑨖
𑨗 DDHA 𑨗
𑨘 NNA 𑨘
𑨙 TA 𑨙
𑨚 THA 𑨚
𑨛 DA 𑨛
𑨜 DHA 𑨜
𑨝 NA 𑨝
𑨞 PA 𑨞
𑨟 PHA 𑨟
𑨠 BA 𑨠 หรือ 𑨭 VA
𑨡 BHA 𑨡
𑨢 MA 𑨢
𑨣 TSA 𑨣
𑨤 TSHA 𑨤
𑨥 DZA 𑨥
𑨦 DZHA 𑨦
𑨧 ZHA 𑨧
𑨨 ZA 𑨨
𑨩 -A 𑨩 ภาษามองโกเลีย AANG, ภาษาทิเบต A-CHUNG
𑨪 YA 𑨪
𑨫 RA 𑨫
𑨬 LA 𑨬
𑨭 VA 𑨭
𑨮 SHA 𑨮
𑨯 SSA 𑨯
𑨰 SA 𑨰
𑨱 HA 𑨱
𑨲 KSSA 𑨲
ชนิด อักษร ชื่อ เอนทิตี XML หมายเหตุ
พยัญชนะตัวสุดท้าย 𑨳 FINAL CONSONANT MARK & #x11A33; ใช้เพื่อทำเครื่องหมายพยัญชนะตัวสุดท้ายของพยางค์
ลบสระ 𑨴 VIRAMA & #x11A34; สำหรับภาษาสันสกฤตและทิเบต
จุดดวงจันทร์ 𑨵 CANDRABINDU & #x11A35; เสริมจมูก
𑨶 CANDRABINDU WITH ORNAMENT & #x11A36; ใช้สำหรับ & #x11A3F;
𑨷 CANDRA WITH ORNAMENT & #x11A37; ใช้สำหรับ & #x11A3F;
สัมผัส 𑨸 ANUSVARA & #x11A38; .ใช้สำหรับภาษาสันสกฤต
หยุดสัมผัส 𑨹 VISARGA & #x11A39; ใช้สำหรับภาษาสันสกฤต
𑨺 CLUSTER-INITIAL LETTER RA & #x11A3A; ใช้สำหรับกลุ่มพยัญชนะทิเบต รูปแบบเริ่มต้นของ & #x11A2B;
𑨻 CLUSTER-FINAL LETTER YA & #x11A3B; ใช้สำหรับกลุ่มพยัญชนะทิเบต รูปแบบสิ้นสุดของ & #x11A2A;
𑨼 CLUSTER-FINAL LETTER RA & #x11A3C; ใช้สำหรับกลุ่มพยัญชนะทิเบต รูปแบบสิ้นสุดของ & #x11A2B;
𑨽 CLUSTER-FINAL LETTER LA & #x11A3D; ใช้สำหรับกลุ่มพยัญชนะทิเบต รูปแบบสิ้นสุดของ & #x11A2C;
𑨾 CLUSTER-FINAL LETTER VA & #x11A3E; ใช้สำหรับกลุ่มพยัญชนะทิเบต รูปแบบสิ้นสุดของ & #x11A2D;
สัญลักษณ์เริ่มต้น 𑨿 INITIAL HEAD MARK & #x11A3F;
สัญลักษณ์เริ่มต้น 𑩀 เครื่องหมายปิดหัว & #x11A40;
เครื่องหมายวรรคตอน 𑩁 MARK TSHEG & #x11A41;
เครื่องหมายวรรคตอน 𑩂 MARK SHAD & #x11A42;
เครื่องหมายวรรคตอน 𑩃 MARK DOUBLE SHAD & #x11A43;
เครื่องหมายวรรคตอน 𑩄 MARK LONG TSHEG & #x11A44;
สัญลักษณ์เริ่มต้น 𑩅 INITIAL DOUBLE-LINED HEAD MARK & #x11A45;
สัญลักษณ์เริ่มต้น 𑩆 DOUBLE-LINED HEAD MARK & #x11A46;
การเชื่อมต่อพยัญชนะ 𑩇 SUBJOINER & #x11A47; สำหรับกลุ่มพยัญชนะ

การแสดงผลในคอมพิวเตอร์

[แก้]

ในยูนิโคดเวอร์ชัน 10.0 ได้เพิ่มอักษรชนิดนี้เข้าไปในช่วงรหัส U+11A4F U+11A00[3]

ชญานวัชระทรงเหลี่ยม[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+11A0x 𑨀 𑨁 𑨂 𑨃 𑨄 𑨅 𑨆 𑨇 𑨈 𑨉 𑨊 𑨋 𑨌 𑨍 𑨎 𑨏
U+11A1x 𑨐 𑨑 𑨒 𑨓 𑨔 𑨕 𑨖 𑨗 𑨘 𑨙 𑨚 𑨛 𑨜 𑨝 𑨞 𑨟
U+11A2x 𑨠 𑨡 𑨢 𑨣 𑨤 𑨥 𑨦 𑨧 𑨨 𑨩 𑨪 𑨫 𑨬 𑨭 𑨮 𑨯
U+11A3x 𑨰 𑨱 𑨲 𑨳 𑨴 𑨵 𑨶 𑨷 𑨸 𑨹  𑨺‎  𑨻 𑨼 𑨽 𑨾 𑨿
U+11A4x 𑩀 𑩁 𑩂 𑩃 𑩄 𑩅 𑩆  𑩇‎ 

ดูเพิ่ม

[แก้]
  1. Shagdarsürüng, Tseveliin (2001). ""Study of Mongolian Scripts (Graphic Study or Grammatology). Enl."". Bibliotheca Mongolica: Monograph 1.
  2. Bareja-Starzyńska, Agata; Byambaa Ragchaa (2012). ""Notes on the Pre-existences of the First Khalkha Jetsundampa Zanabazar according to His Biography Written in the Horizontal Square Script."". Rocznik Orientalistyczny 1.
  3. "Unicode 10.0.0". Unicode Consortium. June 20, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-20. สืบค้นเมื่อ June 21, 2017.