ที่ตั้งของเขตตาเวา
เขตตาเวา (มลายู : Bahagian Tawau ) เป็นหนึ่งในห้าเขตการปกครองย่อยของรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย กินพื้นที่ 14,905 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 20 ของพื้นที่รัฐ[ 1] เมืองหลักในเขตนี้ ได้แก่ เมืองหลักตาเวา , ลาฮัดดาตู , กูนัก และเซิมโปร์นา เขตตาเวามีประชากรร้อยละ 26 ของประชากรทั้งรัฐ[ 1] โดยมีกลุ่มชนพื้นเมือง ได้แก่ บาเจา , ซูลุก , อีดาอัน , ตีดุง , โคโคส , มูรุต , ลุนบาวัง และเช่นเดียวกันกับชนกลุ่มน้อยจากกลุ่มชาติพันธ์ผสม[ 2] [ 3] มีผู้อพยพจำนวนมากมาจากอินโดนีเซียทั้งถูกและผิดกฎหมาย เช่น ชาวบูกินและโตราจันจากติมอร์ตะวันออก [ 4] ชาวเตาซูงกับบีซายะอ์ จากฟิลิปปินส์ และเช่นเดียวกันกับผู้อพยพจากเอเชียใต้และตะวันตก เช่น ชาวปากีสถาน , อินเดีย และอาหรับ [ 2] เหมือนกับส่วนอื่นของรัฐซาบะฮ์ เขตนี้ยังมีกลุ่มเชื้อสายจีน จำนวนมาก[ 3]
ท่าเรือตาเวามีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ซึ่งเป็นรองจากท่าเรือที่โกตากีนาบาลู กับซันดากัน โดยท่านี้ทำหน้าที่ศูนย์หลักที่ส่งออกไม้แปรรูป และพืชผลการเกษตร[ 5]
เขตตาเวาแบ่งออกเป็นเขตการปกครองย่อย ดังนี้:[ 1]
อำเภอกาลาบากันแยกมาจากอำเภอตาเวาในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2019[ 7] [ 8]
↑ 1.0 1.1 1.2 "General Information" . Lands and Surveys Department of Sabah . Borneo Trade. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2018-09-23. สืบค้นเมื่อ 1 November 2017 .
↑ 2.0 2.1 Victor T. King; Zawawi Ibrahim; Noor Hasharina Hassan (12 August 2016). Borneo Studies in History, Society and Culture . Springer Singapore. pp. 239–. ISBN 978-981-10-0672-2 .
↑ 3.0 3.1 Peter Chay (1 January 1988). Sabah: the land below the wind . Foto Technik. ISBN 978-967-9981-12-4 .
↑ Geoffrey C. Gunn (18 December 2010). Historical Dictionary of East Timor . Scarecrow Press. pp. 71–. ISBN 978-0-8108-7518-0 .
↑ Tamara Thiessen (5 January 2016). Borneo . Bradt Travel Guides. pp. 239–. ISBN 978-1-84162-915-5 .
↑ 6.0 6.1 "Statistics Yearbook Sabah 2019" . Department of Statistics, Malaysia. December 2020. p. 3. สืบค้นเมื่อ 16 April 2021 .
↑ "Pengenalan Kalabakan" (ภาษามาเลย์). Kalabakan District. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2021-10-21. สืบค้นเมื่อ 16 April 2021 .
↑ http://www.bernama.com/state-news/beritabm.php?id=1633104
4°30′00″N 118°00′00″E / 4.5000°N 118.0000°E / 4.5000; 118.0000