เบสบอลชิงแชมป์เอเชีย

เบสบอลชิงแชมป์เอเชีย
กีฬาเบสบอล
ก่อตั้งค.ศ. 1954
จำนวนทีม8 ทีม (ใน ค.ศ. 2023)
ทวีปทวีปเอเชีย
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (20 สมัย)

เบสบอลชิงแชมป์เอเชีย (อังกฤษ: Asian Baseball Championship) เป็นทัวร์นาเมนต์ชิงแชมป์รายการสำคัญของเบสบอลทีมชาติในเอเชีย ที่ได้รับการควบคุมโดยสหพันธ์เบสบอลแห่งเอเชีย (บีเอฟเอ) โดยปกติรายการนี้จะจัดขึ้นในทุกปี ค.ศ. ที่ลงท้ายด้วยเลขคี่ และตั้งแต่ ค.ศ. 1983 รายการนี้ยังได้เป็นการแข่งเพื่อคัดเลือกทีมเข้าสู่การแข่งขันกีฬาเบสบอลในโอลิมปิกหากปีที่จัดเป็นช่วงหนึ่งปีก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก การแข่งขันนี้ได้รับการครองความเป็นจ้าวโดยสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) (ซึ่งเข้าแข่งขันภายใต้ชื่อจีนไทเปตั้งแต่ ค.ศ. 1983 เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมือง), ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้

ส่วนทีมชาติไทยเคยเข้าแข่งขันรายการนี้ในปี 2007 ที่ไต้หวัน โดยเป็นฝ่ายชนะทีมชาติฮ่องกงที่ 8-4 รัน[1] รวมถึงในปี 2009 ที่นะริตะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งทีมชาติไทยเป็นฝ่ายชนะทีมชาติอินโดนีเซียที่ 6-1 รัน และในครั้งนี้เอง ที่ณัฐพงศ์ สัมปหังสิต เป็นผู้ทำโฮมรันให้แก่ทีมชาติได้เป็นครั้งแรก[2] และใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติไทยได้เตรียมเข้าแข่งขันรายการเอเชียนคัพ ที่มีแผนจัดขึ้นในช่วงปลายปีนี้ที่ประเทศไทย โดยทีมที่ได้แชมป์จะผ่านการคัดเข้าสู่การแข่งรายการเบสบอลชิงแชมป์เอเชียครั้งถัดไป[3]

ผลการแข่งขัน

[แก้]
ค.ศ. เจ้าภาพรอบสุดท้าย ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ที่ 3
1954
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
มะนิลา

ฟิลิปปินส์

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้
1955
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
มะนิลา

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
1959
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1962
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไทเป

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
1963
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

เกาหลีใต้

จีนไทเป

ญี่ปุ่น
ไม่มีการมอบรางวัล
เนื่องด้วยผู้ที่ได้รองชนะเลิศได้คะแนนเท่ากัน
1965
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
มะนิลา

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1967
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1969
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไทเป

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

ฟิลิปปินส์
1971
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

เกาหลีใต้

ญี่ปุ่น

ฟิลิปปินส์
1973
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
มะนิลา

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1975
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

เกาหลีใต้

ญี่ปุ่น

ออสเตรเลีย
1983
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

เกาหลีใต้

จีนไทเป

ญี่ปุ่น
ไม่มีการมอบรางวัล
เนื่องด้วยผู้ที่ได้รองชนะเลิศได้คะแนนเท่ากัน
1985
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
เพิร์ท

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1987
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว

จีนไทเป

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้
1989
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
ไม่มีการมอบรางวัล
เนื่องด้วยผู้ที่ได้รองชนะเลิศได้คะแนนเท่ากัน
1991
รายละเอียด
จีน
ปักกิ่ง

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
1993
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
เพิร์ท

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1995
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
คูราชิกิ

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
1997
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไทเป

เกาหลีใต้

ญี่ปุ่น

จีนไทเป
1999
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

เกาหลีใต้

ญี่ปุ่น

จีนไทเป
2001
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไทเป

จีนไทเป

เกาหลีใต้

ญี่ปุ่น
2003
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
ซัปโปโระ

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
2005
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
มิยาซากิ

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

จีน
2007
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไถจง

ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้

จีนไทเป
2009
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
ซัปโปโระ

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
2012
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไถจง

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
2015
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไถจง

เกาหลีใต้

จีนไทเป

ญี่ปุ่น
2017
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไทเปใหม่

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้
2019
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไถจง

จีนไทเป

ญี่ปุ่น

จีน
2023
รายละเอียด
ไต้หวัน
ไทเป, ไทเปใหม่, ไถจง

ญี่ปุ่น

จีนไทเป

เกาหลีใต้

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 208230
2ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 810927
3ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 513927
4ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 1023
5ธงชาติจีน จีน 0022
6ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0011
รวม (6 ประเทศ)34312590

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]