ไทยลีก ฤดูกาล 2559

ไทยลีก
ฤดูกาล2559
ทีมชนะเลิศเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด[1] ชนะเลิศไทยลีกสมัยที่4
ตกชั้นบีบีซียู
ชัยนาท ฮอร์นบิล[1]
อาร์มี่ ยูไนเต็ด[1]
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด[1]
แบงค็อก ยูไนเต็ด[1]
สุโขทัย[1]
จำนวนนัด277
จำนวนประตู824 (2.97 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเคลย์ตง ซิลวา
(27 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
ราชบุรี มิตรผล 6–0 พัทยา ยูไนเต็ด
(22 พฤษภาคม 2559)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
พัทยา ยูไนเต็ด 0–5 ศรีสะเกษ
(28 พฤษภาคม 2559)
จำนวนประตูสูงสุดเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 8-3 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ
(22 มิถุนายน 2559)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
14 นัด
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
(2 เมษายน – 29 มิถุนายน 2559)
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
20 นัด
แบงค็อก ยูไนเต็ด
(14 พฤษภาคม 2559 – ปัจจุบัน)
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
15 นัด
บีบีซียู
(9 มีนาคม – 22 มิถุนายน 2559)
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
9 นัด
บีบีซียู
(12 มีนาคม – 11 พฤษภาคม 2559)
จำนวนผู้ชมสูงสุด32,600 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–2 ชลบุรี
(15 เมษายน 2559)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด289 คน
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 5–1 บีบีซียู
(18 กันยายน 2559)
จำนวนผู้ชมรวม1,503,600 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย5,428 คน
2558
2560

ไทยลีก 2559 (เป็นที่รู้จักกันในชื่อ โตโยต้าไทยลีก ตามชื่อของผู้สนับสนุนหลัก) โดยเป็นจัดขึ้นเป็นฤดูกาลที่ 20 ของการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีกนับตั้งแต่ก่อตั้งมาในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งฤดูกาลนี้จะมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันเป็น 18 ทีม โดยกำหนดเริ่มเปิดฤดูกาลทำการแข่งขันพร้อมกันในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 แต่ทาง พล.ต.อ. สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง นายกสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ประกาศเลื่อนการแข่งขันนัดเปิดฤดูกาลออกไปเป็นวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2559[2]

ปีนี้ถือเป็นครั้งแรกที่ไทยลีกแข่งไม่จบฤดูกาล หลังจากสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ประกาศยุติการแข่งขันในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 หลังจากมีการแข่งขันไปแล้ว 31 เกม เพื่อถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช[3]

โดยได้มีการทบทวนการประกาศอีกครั้ง เนื่องจาก พล.ท. สรรเสริญ แก้วกำเนิด ได้ระบุว่าการแข่งขันกีฬานั้นสามารถจัดการแข่งขันต่อได้ จึงได้เรียกตัวแทนของสโมสรเข้าประชุมอีกครั้งเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559[4] ตามมติในที่ประชุมได้ลงมติให้หยุดการแข่งขันในฤดูกาลนี้ 17 ต่อ 1 เสียง และอีกหนึ่งมติคือการเพิ่มสโมสรแข่งขันในฤดูกาลหน้าเป็น 20 สโมสร โดยมีมติ 6 ต่อ 9 เสียง ส่วนอีก 3 เสียงนั้นไม่ออกความคิดเห็น ให้ไปตามมติที่ประชุม จึงทำให้ไม่มีการเพิ่มสโมสรแข่งขันในฤดูกาลหน้า[5]

เมื่อการแข่งขันถูกยุติลง จึงทำให้เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด เป็นชนะเลิศในฤดูกาลนี้ และส่งผลให้ชัยนาท ฮอร์นบิล และอาร์มี่ ยูไนเต็ด ตกชั้นตามมติที่ประชุมให้ยึดตารางคะแนนในเกมการแข่งขันนัดที่ 31[1]

สโมสร

[แก้]

มีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 18 สโมสร ประกอบด้วย 15 สโมสรจากฤดูกาล 2558 และอีก 3 สโมสรที่เลื่อนชั้นมาจากไทยลีกดิวิชัน 1 2558

โดยมี 2 ทีมตกชั้น การท่าเรือ และ ทีโอที ไปเล่น ไทยลีกดิวิชัน 1 2559 (สระบุรีได้ขอถอนทีมออกจากการแข่งขัน ส่งผลให้ บีอีซี เทโรศาสน ได้เล่นในฤดูกาลนี้แทน)

3 ทีมที่ดีที่สุดจาก ไทยลีกดิวิชัน 1 2558 ทีมรองชนะเลิศ พัทยา ยูไนเต็ด, อันดับที่สาม สุโขทัย, และ อันดับที่สี่ บีบีซียู (ทีมชนะเลิศ เพื่อนตำรวจ ไม่ผ่านคุณสมบัติคลับไลนเซนซิ่งของไทยลีก ส่งผลให้ ทีมอันดับที่สี่ บีบีซียู ได่เล่นในฤดูกาลนี้แทน)

สนามเหย้าและที่ตั้ง

[แก้]
สโมสรฟุตบอลในกรุงเทพฯและปริมณฑล
หมายเหตุ: ตารางเรียงตามตัวอักษร
สโมสร จังหวัด สนาม ความจุ
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,500
ชัยนาท ฮอร์นบิล ชัยนาท สนามกีฬาเขาพลอง 12,000
เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย ยูไนเต็ดสเตเดียม 15,000
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ สมุทรปราการ เอ็มพาวเวอร์สเตเดียม 4,100
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 25,000
บางกอกกล๊าส ปทุมธานี ลีโอสเตเดียม 13,000
บีบีซียู นนทบุรี สนามกีฬาศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลนนทบุรี 6,000
บีอีซี เทโรศาสน กรุงเทพมหานคร สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 10,000
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ นิวไอโมบายสเตเดียม 32,600
แบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต 25,000
พัทยา เอ็นเอ็นเค ยูไนเต็ด ชลบุรี ดอลฟินสเตเดียม 5,000
ราชนาวี ชลบุรี สนามกีฬากองทัพเรือ กม. 5 12,500
ราชบุรี มิตรผล ราชบุรี มิตรผลสเตเดียม 12,000
ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ สนามศรีนครลำดวน 10,000
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 25,000
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000
อาร์มี่ ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร สนามกีฬากองทัพบก 20,000
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี เอสซีจีสเตเดียม 15,000

การเปลี่ยนชื่อ

[แก้]

การเปลี่ยนสนาม

[แก้]

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

ทีม หัวหน้าผู้ฝึกสอน (โค้ช) กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน[ก]
ชลบุรี ไทย ใจมั่น, เทิดศักดิ์เทิดศักดิ์ ใจมั่น ไทย อ่อนโม้, พิภพพิภพ อ่อนโม้ ไนกี้ ช้าง
ชัยนาท ฮอร์นบิล ไทย วิจารณ์ณรงค์, วรกรณ์วรกรณ์ วิจารณ์ณรงค์ ไทย สัตบุษ, สมเจตรสมเจตร สัตบุษ วาริกซ์ สปอร์ต วังขนาย
เชียงราย ยูไนเต็ด ไทย โพธิ์อ้น, ธีระศักดิ์ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น ไทย เฉยฉิว, พิชิตพงษ์พิชิตพงษ์ เฉยฉิว ผลิตจากสโมสร สิงห์ปาร์ค เชียงราย
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย บวรวัฒนดิลก, ไพโรจน์ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก ไทย พั่วนะคุณมี, เจษฎาเจษฎา พั่วนะคุณมี แกรนด์ สปอร์ต เอ็ม-150
นครราชสีมา มาสด้า เซอร์เบีย ยอกซิช, มีลอชมีลอช ยอกซิช ไทย เกิดแก้ว, เฉลิมพงษ์เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว แกรนด์ สปอร์ต มาสด้า
บางกอกกล๊าส ออสเตรเลีย วิดมาร์, ออเรลิโอออเรลิโอ วิดมาร์ ออสเตรเลีย สมิธ, แมตต์แมตต์ สมิธ ไนกี้ ลีโอเบียร์
บีบีซียู ไทย ประมลบาล, จตุพรจตุพร ประมลบาล ไทย ปิ่นทอง, ณกุณฑ์ณกุณฑ์ ปิ่นทอง อีโก้ สปอร์ตส์ ทรีบรอดแบนด์
บีอีซี เทโรศาสน ไทย คงเทพ, สุรพงษ์สุรพงษ์ คงเทพ ไทย พุฒตาล, อภิเชษฐ์อภิเชษฐ์ พุฒตาล เอฟบีที เอฟบี แบตเตอรี
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เซอร์เบีย ปอปอวิช, รันกอรันกอ ปอปอวิช ไทย นุชนุ่ม, สุเชาว์สุเชาว์ นุชนุ่ม ผลิตจากสโมสร ช้าง
แบงค็อก ยูไนเต็ด บราซิล ปอลกิง, อาเลชังดรีอาเลชังดรี ปอลกิง ไทย หมัดหลำ, วิทยาวิทยา หมัดหลำ อาริ ทรู
พัทยา เอ็นเอ็นเค ยูไนเต็ด เกาหลีใต้ ฮัก-ชุล, คิมคิม ฮัก-ชุล ไทย ศรีใส, ธนะศักดิ์ธนะศักดิ์ ศรีใส ตามูโด้ น้องนะคะ
ราชนาวี บราซิล คูกูรา, สเตฟาโนสเตฟาโน คูกูรา ไทย พันธุ์ฤทธิ์, ณัฐพรณัฐพร พันธุ์ฤทธิ์ วาริกซ์ สปอร์ต เอชอาร์-โปร
ราชบุรี มิตรผล สเปน ปาเชตา บราซิล ซังตุส, การ์ลุสการ์ลุส ซังตุส อาริ มิตรผล
ศรีสะเกษ ญี่ปุ่น มะซะฮิโระ วะดะ ไทย จันดากรณ์, เอกพันธ์เอกพันธ์ จันดากรณ์ ผลิตจากสโมสร เมืองไทย
สุพรรณบุรี บราซิล ฟารีอัส, เซร์ชีอูเซร์ชีอู ฟารีอัส ไทย วิวัฒน์ชัยโชค, รังสรรค์รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค วาริกซ์ สปอร์ต ช้าง
สุโขทัย ไทย มากมูล, สมชายสมชาย มากมูล ไทย ศรีละคร, ยุทธพงษ์ยุทธพงษ์ ศรีละคร มาวิน ช้าง
อาร์มี่ ยูไนเต็ด ไทย อันทะคำภู, วัชรกรวัชรกร อันทะคำภู ไทย ทศไกร, มงคลมงคล ทศไกร ซัคก้า ช้าง
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ไทย ศรีปาน, ธชตวันธชตวัน ศรีปาน ไทย ทองเหลา, ดัสกรดัสกร ทองเหลา แกรนด์ สปอร์ต เอสซีจี

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
ทีม ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุ วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ชลบุรี ไทย จเด็จ มีลาภ หมดสัญญา 14 ธันวาคม 2558 ก่อนเปิดฤดูกาล ไทย เทิดศักดิ์ ใจมั่น 21 ธันวาคม 2558
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย กฤษดา เพี้ยนดิษฐ์ ไทย สมชาย ทรัพย์เพิ่ม 14 ธันวาคม 2558
ราชบุรี มิตรผล สเปน โคเซป เฟร์เร สเปน ปาเชตา 5 มกราคม 2559
ศรีสะเกษ ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล เซอร์เบีย โบซีดาร์ บันโดวิช 5 มกราคม 2559
สุพรรณบุรี ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ สิ้นสุดการทำทีมรักษาการ บราซิล เซร์ชีอู ฟารีอัส 6 มกราคม 2559
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด โครเอเชีย ดราแกน ทาลายิช ถูกไล่ออก 19 มกราคม 2559 ไทย ธชตวัน ศรีปาน 20 มกราคม 2559
บีอีซี เทโรศาสน ไทย รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค สิ้นสุดการทำทีมรักษาการ 27 มกราคม 2559 เซอร์เบีย บรันโก สมิลยานิช 5 กุมภาพันธ์ 2559
สุพรรณบุรี บราซิล เซร์ชีอู ฟารีอัส ถูกไล่ออก 21 มีนาคม 2559 อันดับที่ 4 สเปน รีการ์โด โรดรีเกซ 22 มีนาคม 2559
ชัยนาท ฮอร์นบิล ไทย อิสระ ศรีทะโร 25 เมษายน 2559 อันดับที่ 16 ญี่ปุ่น โคอิจิ ซูงิยามะ 28 เมษายน 2559
บีบีซียู ญี่ปุ่น โคอิจิ ซูงิยามะ อันดับที่ 18 ไทย จตุพร ประมลบาล 23 พฤษภาคม 2559
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย สมชาย ทรัพย์เพิ่ม ลาออก 28 เมษายน 2559 อันดับที่ 16 ไทย ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก 28 เมษายน 2559
บีอีซี เทโรศาสน เซอร์เบีย บรันโก สมิลยานิช ถูกไล่ออก 12 พฤษภาคม 2559 อันดับที่ 12 ไทย สุรพงษ์ คงเทพ 12 พฤษภาคม 2559
นครราชสีมา มาสด้า ญี่ปุ่น ซุงะโอะ คัมเบะ ลาออก 12 พฤษภาคม 2559 อันดับที่ 16 เซอร์เบีย มีลอส โจซิช 29 พฤษภาคม 2559
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บราซิล อาเลชังดรี กามา ถูกไล่ออก 22 พฤษภาคม 2559 อันดับที่ 3 อิหร่าน อัฟชิน ก็อตบี 24 พฤษภาคม 2559
พัทยา ยูไนเต็ด เซอร์เบีย มีลอส โจซิช เซ็นสัญญากับ นครราชสีมา 29 พฤษภาคม 2559 อันดับที่ 12 เกาหลีใต้ คิม ฮัก-ชุล 27 มิถุนายน 2559
ชัยนาท ฮอร์นบิล ญี่ปุ่น โคอิจิ ซูงิยามะ ลาออก 20 มิถุนายน 2559 อันดับที่ 17 ไทย วรกรณ์ วิจารณ์ณรงค์ 20 มิถุนายน 2559
บางกอกกล๊าส ไทย อนุรักษ์ ศรีเกิด 23 มิถุนายน 2559 อันดับที่ 3 ออสเตรเลีย ออเรลิโอ วิดมาร์ 1 สิงหาคม 2559
สุพรรณบุรี สเปน รีการ์โด โรดรีเกซ 28 มิถุนายน 2559 อันดับที่ 9 บราซิล เซร์ชีอู ฟารีอัส 5 กรกฎาคม 2559
ศรีสะเกษ เซอร์เบีย โบซีดาร์ บันโดวิช ถูกไล่ออก 12 สิงหาคม 2559[7] อันดับที่ 11 ญี่ปุ่น มะซะฮิโระ วะดะ 1 กันยายน 2559[8]
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อิหร่าน อัฟชิน ก็อตบี 20 สิงหาคม 2559[9] อันดับที่ 4 เซอร์เบีย รางกอ ปอปอวิช 25 สิงหาคม 2559[10]
สุโขทัย ไทย สมชาย ชวยบุญชุม 26 กันยายน 2559[11] อันดับที่ 7 ไทย สมชาย มากมูล 28 กันยายน 2559[12]

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ
ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
ได้รับคัดเลือก หรือ ตกชั้น
1 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (C) (Q) 31 26 2 3 73 24 +49 80 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2017 รอบแบ่งกลุ่ม
2 แบงค็อก ยูไนเต็ด (Q) 31 23 6 2 71 36 +35 75 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2017 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ 1
3 บางกอกกล๊าส 31 18 3 10 62 41 +21 57
4 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 30 15 10 5 55 38 +17 55
5 ชลบุรี 31 14 9 8 52 33 +19 51
6 ราชบุรี มิตรผล 30 14 7 9 52 35 +17 49
7 สุโขทัย (Q) 31 13 6 12 50 44 +6 45
8 เชียงราย ยูไนเต็ด 31 13 6 12 42 43 −1 45
9 บีอีซี เทโรศาสน 30 12 5 13 42 52 −10 41
10 สุพรรณบุรี 31 10 8 13 33 35 −2 38
11 นครราชสีมา มาสด้า 31 10 5 16 30 44 −14 35
12 พัทยา เอ็นเอ็นเค หนองปรือ ยูไนเต็ด 31 9 7 15 46 66 −20 34
13 ศรีสะเกษ 31 8 9 14 41 52 −11 33
14 ราชนาวี 31 7 10 14 24 40 −16 31
15 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 31 8 7 16 45 71 −26 31
16 อาร์มี่ ยูไนเต็ด (R) 31 8 6 17 34 46 −12 30 ตกชั้นสู่ ไทยลีก ดิวิชั่น 1 2560
16 ชัยนาท ฮอร์นบิล (R) 31 8 6 17 46 61 −15 30
18 บีบีซียู (R) 30 3 4 23 32 69 −37 13

อัปเดตล่าสุด 14 ตุลาคม 2559
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม
1 หากผู้ชนะเลิศรายการ มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ เป็นทีมเดียวกันกับทีมที่ได้สิทธิ์ลงแข่งขันเอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกอยู่ก่อนหน้านี้แล้วนั้น. สิทธิ์ในการเข้าร่วมการแข่งขันจะตกอยู่กับทีมอันดับที่สามในลีกจะได้ไปแทน.
(C) = ชนะเลิศ; (R) = ตกชั้น; (P) = เลื่อนชั้น; (O) = ผู้ชนะจากรอบคัดเลือก; (A) = ผ่านเข้ารอบต่อไป
ใช้ได้เฉพาะเมื่อฤดูกาลยังไม่สิ้นสุด:
(Q) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในระยะของทัวร์นาเมนต์ที่ระบุ; (TQ) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขัน แต่ยังไม่อยู่ในระยะที่ระบุ; (DQ) = ถูกตัดสิทธิ์จากทัวร์นาเมนต์

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า \ เยือน1 AMU BKG BKU BBC BEC BRU CHA CRU CHO MTU NAK OSO PTU RAT NAV SSK SUK SUP
อาร์มี่ ยูไนเต็ด 0–0 3–4 2–0 2–3 1–2 2–4 1–0 0–2 0–1 2–0 1–2 1–3 2–0 1–1 1–1 0–1
บางกอกกล๊าส 0–1 3–1 5–1 0–2 3–1 1–1 1–2 2–1 4–1 3–0 2–0 3–1 2–1 3–1
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 4–2 1–0 3–0 3–5 3–2 2–0 1–1 3–3 2–1 1–1 1–1 2–1 3–1 6–1 4–2
บีบีซียู 1–2 2–4 0–2 2–1 3–4 1–1 1–2 2–4 1–1 2–3 3–1 0–1 2–0 0–3 2–3
บีอีซี เทโรศาสน 1–2 1–4 2–3 1–0 2–1 1–2 1–3 2–1 4–1 1–2 0–4 1–0 2–1 1–0 2–0
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 0–1 2–1 0–0 4–0 3–3 0–0 2–1 3–2 0–3 1–0 1–1 4–2 0–1 1–0 5–2 2–2
ชัยนาท 1–1 2–3 1–2 3–1 4–4 2–1 1–4 1–2 3–1 1–3 1–3 2–2 1–0 1–0 3–2 1–1
เชียงราย ยูไนเต็ด 2–1 1–3 0–3 2–2 4–2 0–0 1–0 0–3 1–2 2–0 1–0 2–1 3–1 2–0 1–0
ชลบุรี 1–1 2–1 0–1 1–0 7–2 2–1 0–3 1–1 3–0 2–1 2–0 4–1 4–2 2–2 1–2
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 2–0 2–3 5–1 0–1 3–2 2–0 1–0 1–0 4–1 8–3 4–1 3–0 1–1 4–0 2–1 1–0
นครราชสีมา มาสด้า 1–0 1–2 1–1 1–0 2–0 1–0 1–4 0–0 0–1 1–0 1–0 2–1 1–1 1–3 0–0
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 3–2 1–2 0–2 4–1 2–3 2–2 4–2 1–2 1–0 1–2 2–1 4–4 1–0 1–1 1–3 0–0
พัทยา ยูไนเต็ด 2–2 2–1 1–2 3–2 2–2 1–3 2–4 3–3 0–2 1–2 4–1 2–0 1–1 0–5 2–4 3–1
ราชบุรี มิตรผล 3–1 4–3 0–1 2–0 2–0 1–1 0–0 3–1 2–0 3–0 6–0 2–1 4–0 2–1
ราชนาวี 1–2 1–0 1–0 1–0 1–1 0–0 0–0 0–0 3–2 0–4 1–0 1–1 0–0 2–0 1–1
ศรีสะเกษ 2–0 3–3 2–4 0–0 0–2 2–2 2–1 1–0 0–1 1–0 5–1 4–0 1–1 1–1 2–0
สุโขทัย 1–0 0–1 4–1 2–2 0–1 2–1 0–0 1–2 0–1 5–2 1–0 2–0 2–2 1–1 1–0
สุพรรณบุรี 1–0 1–2 0–1 2–1 0–0 1–2 1–0 2–0 0–0 0–1 3–1 2–3 0–0 4–1 1–0 2–3

อัปเดตล่าสุดวันที่ 25 กันยายน 2559
แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 25 กันยายน 2559
เคลย์ตง ซิลวา ทำประตูมากสุดที่ 27 ลูก
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 บราซิล เคลย์ตง ซิลวา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 27
2 ติมอร์-เลสเต เอเบร์ชี เฟร์นังจิส* ราชบุรี มิตรผล 20
บาห์เรน เจย์ซี จอห์น ออกวุนวานเน แบงค็อก ยูไนเต็ด
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด
บราซิล ฌูนีโอร์ เนเกรา พัทยา เอ็นเอ็นเค ยูไนเต็ด
6 คอสตาริกา อาเรียล โรดรีเกซ บางกอกกล๊าส 19
7 บราซิล ฌูซิมาร์ อาร์มี่ ยูไนเต็ด 16
โปรตุเกส ยานนิค ยาโล ราชบุรี มิตรผล
9 บราซิล เรนัน มาร์เกวซ สุโขทัย 15
10 ไทย อดิศักดิ์ ไกรษร เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 14

การผ่านบอล

[แก้]
ณ วันที่ 25 กันยายน 2559
จอห์น บักจีโอ จ่ายบอลมากสุดที่ 13 ครั้ง
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ผ่านบอล
1 มาดากัสการ์ จอห์น บักจีโอ สุโขทัย 13
2 ไทย ชนาธิป สรงกระสินธ์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 11
3 เลบานอน ซูนี ซาอัด พัทยา ยูไนเต็ด 10
มาซิโดเนียเหนือ มารีโอ ยูโรฟสกี แบงค็อก ยูไนเต็ด
5 ไทย ธีราทร บุญมาทัน เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 9
6 ไทย สารัช อยู่เย็น เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 8
บราซิล เคลย์ตง ซิลวา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
ไทย พีระพัฒน์ โน๊ตชัยยา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
ไทย ทริสตอง โด เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
ไทย สรรวัชญ์ เดชมิตร แบงค็อก ยูไนเต็ด
บราซิล บรูโน เวลลิงตัน เชียงราย ยูไนเต็ด
สเปน โตติ บางกอกกล๊าส
ไนจีเรีย อเดโฟลาริน ดูโรซินมี ศรีสะเกษ
คีร์กีซสถาน แอนทอน แซมเลียนูคิน ศรีสะเกษ

แฮตทริก

[แก้]
เอเบร์ชี เฟร์นังจิส ทำแฮตทริกมากสุดที่ 3 ครั้ง
นักเตะ สโมสร ทำได้นัดที่พบ ผล นาที วันที่
เวเนซุเอลา อันเดรส ตูเญซ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด แบงค็อก ยูไนเต็ด 5–3 ประตู 18', ประตู 30' (ลูกโทษ), ประตู 70' 6 มีนาคม 2559
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–5 ประตู 25', ประตู 67', ประตู 77' (ลูกโทษ) 6 มีนาคม 2559
ไทย ธีรศิลป์ แดงดา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ราชนาวี 4–0 ประตู 42', ประตู 57', ประตู 79' (ลูกโทษ) 2 เมษายน 2559
ติมอร์-เลสเต เอเบร์ชี เฟร์นังจิส ราชบุรี มิตรผล บางกอกกล๊าส 4–3 ประตู 45+1', ประตู 54', ประตู 58' 23 เมษายน 2559
บราซิล เคลย์ตง ซิลวา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด เชียงราย ยูไนเต็ด 3–0 ประตู 7', ประตู 14', ประตู 61' 7 พฤษภาคม 2559
บราซิล เดนนิส มูริลลู เชียงราย ยูไนเต็ด นครราชสีมา มาสด้า 4–1 ประตู 2', ประตู 45+2', ประตู 59' 11 พฤษภาคม 2559
ติมอร์-เลสเต เอเบร์ชี เฟร์นังจิส ราชบุรี มิตรผล พัทยา ยูไนเต็ด 6–0 ประตู 28' (ลูกโทษ), ประตู 45+2', ประตู 85' 22 พฤษภาคม 2559
ติมอร์-เลสเต เอเบร์ชี เฟร์นังจิส ราชบุรี มิตรผล ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 4–4 ประตู 28' (ลูกโทษ), ประตู 68', ประตู 74' 28 พฤษภาคม 2559
บราซิล เคลย์ตง ซิลวา4 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 8–3 ประตู 17', ประตู 26', ประตู 55', ประตู 71' 22 มิถุนายน 2559
บาห์เรน เจย์ซี จอห์น ออกวุนวานเน แบงค็อก ยูไนเต็ด บีบีซียู 4–2 ประตู 45+2', ประตู 67', ประตู 77' 17 กรกฎาคม 2559
บาห์เรน เจย์ซี จอห์น ออกวุนวานเน แบงค็อก ยูไนเต็ด บีอีซี เทโรศาสน 3–2 ประตู 37', ประตู 54' (ลูกโทษ), ประตู 76' 23 กรกฎาคม 2559
เลบานอน ซูนี ซาอัด พัทยา ยูไนเต็ด บีบีซียู 3–2 ประตู 5', ประตู 18', ประตู 47' 24 กรกฎาคม 2559
บราซิล จีโอกู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ชัยนาท ฮอร์นบิล 4–4 ประตู 2' (ลูกโทษ), ประตู 60', ประตู 80' 7 สิงหาคม 2559
นามิเบีย แซดนีย์ อูริโคบ ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ บีบีซียู 4–1 ประตู 66', ประตู 72', ประตู 86' 20 สิงหาคม 2559
บราซิล เดนนิส มูริลลู ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ชัยนาท ฮอร์นบิล 4–2 ประตู 73', ประตู 84', ประตู 87' (ลูกโทษ) 10 กันยายน 2559
บราซิล โรดรีกู แวร์จีลีอู ชลบุรี ราชนาวี 4–1 ประตู 45', ประตู 70', ประตู 86' 11 กันยายน 2559
บราซิล เดลาโตรี สุพรรณบุรี ราชนาวี 4–1 ประตู 44', ประตู 69', ประตู 89' 25 กันยายน 2559
บราซิล ฌูนีโอร์ เนเกรา พัทยา ยูไนเต็ด นครราชสีมา มาสด้า 4–1 ประตู 33' (ลูกโทษ), ประตู 43', ประตู 60' 25 กันยายน 2559

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 25 กันยายน 2559
กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ เก็บคลีนชีตส์มากสุดที่ 16 ครั้ง
อันดับ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์ (นัด)
1 ไทย กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 16
2 ไทย ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 10
ไทย สินทวีชัย หทัยรัตนกุล สุพรรณบุรี
ไทย ณรงค์ วงษ์ทองคำ ราชนาวี
ไทย อุกฤษณ์ วงศ์มีมา ราชบุรี มิตรผล
6 ไทย กิตติพงศ์ ภูแถวเชือก แบงค็อก ยูไนเต็ด 9
7 ไทย ชนินทร์ แซ่เอียะ ชลบุรี 8
ไทย อินทรัตน์ อภิญญากุล เชียงราย ยูไนเต็ด
ไทย กัมพล ปฐมอรรฆย์กุล นครราชสีมา มาสด้า
10 ไทย ประสิทธิ์ ผดุงโชค บีอีซี เทโรศาสน 7

รางวัล

[แก้]

รางวัลประจำเดือน

[แก้]
เทิดศักดิ์ ใจมั่น ได้รับรางวัลผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือนสิงหาคม–กันยายน
เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน อ้างอิง
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร
มีนาคม ไทย ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น เชียงราย ยูไนเต็ด ออสเตรเลีย แมตต์ สมิธ บางกอกกล๊าส [13]
เมษายน บราซิล ปอลกิง, อาเลชังดรีอาเลชังดรี ปอลกิง แบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย ธนบูรณ์ เกษารัตน์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด [14]
พฤษภาคม ไทย ธชตวัน ศรีปาน เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด มาดากัสการ์ จอห์น บักจีโอ สุโขทัย [15]
มิถุนายน ไทย สุรพงษ์ คงเทพ บีอีซี เทโรศาสน บราซิล เคลย์ตง ซิลวา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด [16]
กรกฎาคม ไทย สมชาย ชวยบุญชุม สุโขทัย บาห์เรน เจย์ซี จอห์น แบงค็อก ยูไนเต็ด [17]
สิงหาคม–กันยายน ไทย เทิดศักดิ์ ใจมั่น ชลบุรี ไทย กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด [18]

สถิติผู้ชม

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 248,760 32,600 8,857 15,547 −20.5%
2 นครราชสีมา มาสด้า 173,041 32,159 5,543 11,536 −34.7%
3 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 156,434 12,579 289 9,777 +6.6%
4 สุพรรณบุรี 143,693 17,512 4,232 8,980 −13.6%
5 บางกอกกล๊าส 89,891 10,713 3,075 5,992 −12.5%
6 สุโขทัย 91,232 7,950 4,012 5,702 +45.8%
7 เชียงราย ยูไนเต็ด 81,171 15,550 1,761 5,411 −4.7%
8 ชลบุรี 75,319 8,463 3,155 5,021 −16.0%
9 ศรีสะเกษ 72,261 11,200 2,216 4,817 −9.7%
10 ราชบุรี มิตรผล 61,631 13,270 2,185 4,402 +8.0%
11 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 49,818 11,666 1,121 3,321 +18.1%
12 ราชนาวี 46,185 5,319 2,228 3,079 −17.2%
13 พัทยา ยูไนเต็ด 46,344 5,100 1,351 2,896 +24.1%
14 ชัยนาท 39,386 6,144 1,013 2,461 −48.0%
15 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 36,985 4,983 1,041 2,311 +11.8%
16 อาร์มี่ ยูไนเต็ด 36,707 5,766 1,143 2,294 −12.6%
17 บีอีซี เทโรศาสน 29,335 3,461 1,087 1,955 −51.0%
18 บีบีซียู 23,111 3,514 289 1,540 +61.3%
รวม 1,503,600 32,600 289 5,428 −13.8%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2559
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
ทีมที่ลงเล่นฤดูกาลที่แล้วใน ดิวิชัน 1

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "ส.บอลแจงอันดับลีกยึดผลล่าสุด จับสลากหาสิทธิ์บอลถ้วย". Goal Thailand. 14 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. ตั้งผบ.ตร.เป็นประธานพีแอลที,เลื่อนเปิดไทยลีก-ด.1
  3. "ประกาศ : เรื่องยุติการแข่งขันกีฬาฟุตบอล ฟุตซอล ฟุตบอลชายหาด ประจำฤดูกาล ๒๕๕๙". สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ. 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-17. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. "ส.บอล พร้อมทบทวนโปรแกรมแข่งขันที่เหลือใหม่ตามประกาศรัฐบาล". SMM SPORT. 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)[ลิงก์เสีย]
  5. "ผลโหวต 17-1 บอลไทยยุติแข่ง อาร์มี่-ชัยนาท ตกชั้น!!". SMM SPORT. 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)[ลิงก์เสีย]
  6. "ปิดตำนานโอสถสภาฯ! พลังเอ็มแถลงเปลี่ยนชื่อสโมสรเริ่มใช้เลก 2". Goal.com. 23 มิถุนายน 2559. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. "แตกหัก!กูปรีเลิกสัญญา"บอสโก้"ชี้ประพฤติไม่เหมาะสม". Goal.com. 12 สิงหาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. OFFICIAL : มาซาฮิโระ วาดะ นั่งกุนซือ ศรีสะเกษ เอฟซี. thaileague.co.th. 1 September 2016. สืบค้นเมื่อ 1 September 2016.
  9. "ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน!! 'บุรีรัมย์' ปลด 'ก็อตบิ' หลังผลงานไม่เข้าตา". SMM Sport. 20 สิงหาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  10. "สายฟ้าเปิดตัว โปโป้ กุนซือคนใหม่,บันโดวิช นั่งประธานเทคนิค". SMM Sport. 25 สิงหาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  11. "ทุ่งทะเลหลวงสะเทือน! สุโขทัยแถลงยกเลิกสัญญา 'น้าฉ่วย'". SMM Sport. 26 กันยายน 2559. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  12. "สมชาย มากมูล ผมจะทำให้แฟนบอลมีความสุขตามปรัชญาท่านประธาน". SMM Sport. 28 กันยายน 2559. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  13. "สมิธควงโค้ชโจซิวยอดเยี่ยมโตโยต้าเดือนแรก". goal.com. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  14. "คู่ควรธนบูรณ์ควงมาโน่ซิวยอดเยี่ยมโตโยต้า-ไทยลีก-เดือนเมษาฯ". goal.com. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. ""ธชตวัน" ควง "บาจโจ้" คว้ารางวัลยอดเยี่ยมโตโยต้าเดือนพฤษภาคม". thaileague.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-24. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. ""สุรพงษ์" ควง "คเลตัน" คว้ารางวัลยอดเยี่ยมโตโยต้าเดือนมิถุนายน". thaileague.co.th. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  17. "เจย์ซี จอห์น,น้าฉ่วยคว้ายอดเยี่ยมไทยลีกก.ค." Siamsport.co.th. สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  18. "ผลงานประจักษ์!เทิดศักดิ์ควงกวินทร์คว้ายอดเยี่ยมโตโยต้า เดือน กันยายน". goal.com. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]