ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2553

ไทยลีกดิวิชัน 1
ฤดูกาล2553
ทีมชนะเลิศศรีราชา
เลื่อนชั้นศรีราชา
ขอนแก่น
เชียงราย ยูไนเต็ด
ตกชั้นปราจีนบุรี
นราธิวาส
จำนวนประตู669 ประตู
จำนวนประตูเฉลี่ย2.75 ประตู/นัด (240 นัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไทย ชัยณรงค์ ทาทอง
(19 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
สุวรรณภูมิ ศุลกากร 7-0 นราธิวาส เอฟซี
(29 กันยายน 2553)
ศรีราชา 7–0 นราธิวาส
(23 ตุลาคม 2553)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
ปตท. 0–5 แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด
(18 เมษายน 2553)
ราชประชา นนทบุรี 1–6 จุฬา ยูไนเต็ด
(19 มิถุนายน 2553)
จำนวนประตูสูงสุดศรีราชา เอฟซี 5–2 จุฬา ยูไนเต็ด
(27 มีนาคม 2553)
สงขลา เอฟซี 2–5 ขอนแก่น เอฟซี
(9 พฤษภาคม 2553)
ราชประชา นนทบุรี 1–6 จุฬา ยูไนเต็ด
(19 มิถุนายน 2553)
อาร์แบค มิตรภาพ 3–4 นครปฐม เอฟซี
(14 สิงหาคม 2553)
ปตท. 4–3 สงขลา เอฟซี
(17 สิงหาคม 2553)
สุวรรณภูมิ ศุลกากร 4–3 อาร์แบค มิตรภาพ
(18 สิงหาคม 2553)
สุวรรณภูมิ ศุลกากร 7-0 นราธิวาส เอฟซี
(29 กันยายน 2553)
นครปฐม เอฟซี 5–2 นราธิวาส เอฟซี
(2 ตุลาคม 2553)
สุพรรณบุรี 4–3 จุฬา ยูไนเต็ด
(16 ตุลาคม 2553)
ศรีราชา 7–0 นราธิวาส
(23 ตุลาคม 2553) (7 ประตู)
2552
2554

ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2553 เป็นการแข่งขันฟุตบอล ดิวิชั่น 1 เป็นครั้งที่ 13 นับตั้งแต่เริ่ม ฤดูกาล 2540 โดยเป็นลีกระดับที่สองรองจาก ไทยพรีเมียร์ลีก มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 16 ทีม โดยหา 3 ทีมเลื่อนชั้นขึ้น ไทยพรีเมียร์ลีก และ 4 ทีมตกชั้นลงไป ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2

การเพิ่มจำนวนสโมสรที่เข้าแข่งขัน

[แก้]

โดยที่ทาง สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จำกัด ได้ประกาศที่จะเพิ่มจำนวนสโมสรที่เข้าร่วมแข่งขัน ทั้งในระดับ ไทยพรีเมียร์ลีก และ ดิวิชั่น 1 เป็น 18 ทีม จึงได้ประกาศว่า หลังจากจบการแข่งขันในฤดูกาลนี้ (2553) จะมีการเพลย์ออฟเลื่อนชั้น โดยที่จะนำ สโมสรที่จบฤดูกาลด้วย 3 อันดับสุดท้ายของ ฤดูกาล 2553 มาเพลย์ออฟกับสโมสรที่จบอันดับที่ 4, 5, และ 6 ของ ไทยลีกดิวิชัน 1 2553 โดยจะแบ่งสโมสรเป็นสองสาย สโมสรที่เป็นอันดับที่ 1 ของสายนั้นๆ จะได้สิทธิ์แข่งขันใน ไทยพรีเมียร์ลีก 2554 ต่อไป[1]

ขณะเดียวกัน ทางฝ่ายจัดการแข่งขันฯก็จะให้มีการเพลย์ออฟระหว่าง สโมสรที่จบ 4 อันดับสุดท้ายใน ดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2553 มาเพลย์ออฟกับทีม อันดับที่ 3 และ 4 ของ ดิวิชั่น 2 รอบแชมเปี้ยนส์ ลีก โดยเพลย์ออฟสองนัด เหย้า-เยือน โดยที่ผู้ชนะจะได้สิทธิ์แข่งขันใน ไทยลีกดิวิชัน 1 2554 ต่อไป


การเปลื่ยนแปลงสโมสรที่เล่นในลีก

[แก้]

เลื่อนชั้นสู่ ไทยพรีเมียร์ลีก

ตกชั้นสู่ ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2

ตกชั้นจาก ไทยพรีเมียร์ลีก

เลื่อนชั้นจาก ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2

สโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]

ที่ตั้งของแต่ละสโมสร

[แก้]
สโมสรฟุตบอลในกรุงเทพฯและปริมณฑล
ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ ผู้ผลิตชุดแข่ง ผู้สนับสนุนหลักบนชุดแข่ง
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ปทุมธานี สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์) 20,000 กีล่า สปอร์ด เอวิเอ แซทคอม
จันทบุรี จันทบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดจันทบุรี 5,000 แกรนด์สปอร์ต แคช ทูเดย์
เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สนามกีฬากลางจังหวัดเชียงราย 4,000 ผลิตจากสโมสร ลีโอ เบียร์
จุฬา ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 15,000 ผลิตจากสโมสร 3BB
ขอนแก่น ขอนแก่น สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 10,000 คูล สปอร์ต เบียร์ช้าง
นครปฐม นครปฐม สนามมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน 3,500 แพน วิคเตอรี ประกันภัย
นราธิวาส นราธิวาส สนามกีฬากลางจังหวัดนราธิวาส 8,000 เอฟบีที ไทยแอร์เอเชีย
ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดปราจีนบุรี 3,500 ตามูโต้ ยูโร คัสตาร์ด เค้ก
ปตท. ระยอง ระยอง สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 14,000 แพน ปตท.
ราชประชา นนทบุรี นนทบุรี ยามาฮ่า สเตเดียม 18,000 ไนน์ สปอร์ต เบียร์ช้าง
อาร์แบค มิตรภาพ กรุงเทพมหานคร สนามกีฬามหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 1,000 เดฟโฟ่
สงขลา สงขลา สนามกีฬาจิระนคร 25,000 เดียดอร่า
ศรีราชา ศรีราชา สนามกีฬาสิรินธร 5,000 เอฟบีที เบียร์ช้าง
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 25,000 เดฟโฟ่ ปูนตราดอกบัว
สุวรรณภูมิ ศุลกากร สมุทรปราการ สนามกีฬาลาดกระบัง 54 3,500 เดฟโฟ่ ดับเบิ้ลเอ
ไทยฮอนด้า กรุงเทพมหานคร สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 3,000 เดฟโฟ่ ฮอนด้า

การเปลื่ยนแปลงชื่อ

[แก้]

ตารางคะแนน

[แก้]

อัปเดต วันอาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2553

ลำดับ ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- แต้ม
1 ศรีราชา 30 19 5 6 62 33 +29 62
2 ขอนแก่น 30 15 9 6 51 35 +16 54
3 เชียงราย ยูไนเต็ด 30 15 8 7 44 32 +12 53
4 สงขลา 30 14 9 7 47 34 +13 51
5 นครปฐม 30 12 15 3 55 36 +19 51
6 ไฟล์:Airforce United.png แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด 30 13 9 8 48 33 +15 48
7 สุวรรณภูมิ ศุลกากร 30 12 9 9 42 37 +5 45
8 ไทยฮอนด้า 30 11 7 12 32 32 0 40
9 ราชประชา นนทบุรี 30 11 6 13 31 40 -9 39
10 จุฬา ยูไนเต็ด 30 10 8 12 59 48 +11 38
11 ปตท. ระยอง 30 9 11 10 47 51 -4 38
12 แคช ทูเดย์ จันทบุรี 30 9 10 11 38 40 -2 37
13 ปราจีนบุรี 30 10 5 15 29 36 -7 35
14 อาร์แบค มิตรภาพ 30 7 6 17 35 65 -30 27
15 สุพรรณบุรี 30 5 8 17 31 53 -22 23
16 นราธิวาส 30 4 3 23 16 64 -48 15

เพลย์ออฟ

[แก้]

เพลย์ออฟ ระหว่าง ไทยลีก และ ดิวิชั่น 1

[แก้]

สาย เอ

[แก้]
สโมสร Pld W D L GF GA GD Pts
ศรีสะเกษ เอฟซี 4 2 2 0 4 1 +3 8
นครปฐม เอฟซี1 4 2 1 1 5 3 +2 7
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด 4 0 1 3 2 7 −5 1

1 สโมสรนครปฐม ถูกสั่งห้ามลงแข่งขันทุกรายการของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี จาก เหตุแฟนบอลสโมสรฟุตบอลนครปฐมทำร้ายผู้ตัดสิน พ.ศ. 2553[2]


สาย บี

[แก้]
หมายเหตุ
1 สโมสรทหารบกได้ทำการเปลื่ยนชื่อเป็น อาร์มี่ ยูไนเต็ด
สโมสร Pld W D L GF GA GD Pts
อาร์มี่ ยูไนเต็ด1 4 2 2 0 5 1 +4 8
แบงค็อก ยูไนเต็ด 4 1 2 1 3 3 0 5
สงขลา เอฟซี 4 0 2 2 2 6 −4 2

เพลย์ออฟ ระหว่าง ดิวิชั่น 1 และ ลีกภูมิภาค

[แก้]

สโมสรที่ชนะ จะได้สิทธิ์แข่งขันใน ไทยลีกดิวิชัน 1 2554 ส่วนสโมสรที่แพ้ ต้องไปแข่งขันใน ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2554 ต่อไป

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ปราจีนบุรี เอฟซี 0–1 ม.รังสิต เจดับบลิว 0–1 0–0
สุพรรณบุรี เอฟซี 3–2 สระบุรี เอฟซี 2–1 1–1
อาร์แบค มิตรภาพ 4–2 ระยอง เอฟซี 2–1 2–1
นราธิวาส เอฟซี 2–11 บางกอก เอฟซี 1–7 1–4

ผลการแข่งขัน

[แก้]
 
1

2
3
4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15
ไฟล์:Airforce United.png
16
1. ขอนแก่น 2-0 2-1 0-0 2-1 0-0 2-1 2-4 2-1 2-0 3-1 2-1 2-0 3-3 4-1 1-2
2. แคช ทูเดย์ จันทบุรี 0-2 3-0 1-1 1-1 1-1 0-1 3-2 2-0 0-2 2-3 1-1 1-0 1-1 1-1 2-2
3. จุฬา ยูไนเต็ด 1-1 2-3 3-0 1-1 2-2 4-1 2-2 3-3 1-0 2-1 0-0 5-1 6-0 3-0 0-1
4. เชียงราย ยูไนเต็ด 1-3 2-0 2-1 4-1 1-1 3-1 1-1 1-0 2-1 1-0 1-1 4-0 0-2 2-0 2-1
5. ไทยฮอนด้า 3-2 1-2 1-2 0-1 1-2 2-0 2-0 0-1 1-0 1-1 0-1 1-1 1-2 3-0 1-0
6. นครปฐม 1-1 2-1 0-0 2-1 1-1 5-2 2-2 2-1 1-2 3-0 3-0 2-2 0-0 3-0 1-1
7. นราธิวาส 1-0 1-3 1-0 0-1 0-1 1-3 0-0 0-1 0-1 1-2 2-2 0-0 0-1 1-3 2-1
8. ปตท. 0-0 1-3 1-4 2-2 1-1 3-3 3-0 1-0 1-1 0-1 4-3 2-0 2-0 5-1 0-5
9. ปราจีนบุรี 0-0 0-0 3-1 0-1 1-0 2-3 1-0 1-2 2-1 1-2 1-1 1-0 2-0 1-0 2-1
10. ราชประชา นนทบุรี 1-1 0-1 1-6 1-1 0-1 1-1 2-0 3-3 2-0 1-2 1-3 2-1 1-0 4-0 1-0
11. ศรีราชา 4-0 3-1 5-2 3-0 1-2 3-2 7-0 2-1 3-1 0-0 1-0 1-0 1-2 3-0 1-1
12. สงขลา 2-5 1-0 2-1 2-0 3-1 2-1 3-0 2-2 2-0 4-0 1-1 2-0 2-1 1-0 3-2
13. สุพรรณบุรี 2-2 2-1 4-3 2-2 0-1 0-0 4-0 1-2 2-0 0-1 1-2 1-1 1-4 3-1 3-3
14. สุวรรณภูมิ ศุลกากร 1-0 0-0 1-1 0-3 0-1 1-3 7-0 2-0 2-2 3-0 1-2 1-0 1-0 4-3 0-0
15. อาร์แบค มิตรภาพ 1-3 3-3 4-2 2-1 0-0 3-4 1-0 2-0 1-0 1-2 1-5 1-1 1-0 1-1 1-3
16. แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด 1-2 2-1 2-0 1-3 2-1 1-1 1-0 2-0 1-0 2-1 1-1 1-0 5-0 1-1 2-2

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
อันดับ นักฟุตบอล สโมสร ประตู
1 ไทย ชัยณรงค์ ทาทอง จุฬาฯ ยูไนเต็ด 19
2 บราซิล อารอน ดา ซิลวา จุฬาฯ ยูไนเต็ด 15
ไทย พรชัย อาจจินดา แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด 15
4 อาร์เจนตินา ราอูล กัสตัน ศรีราชา 14
5 ไทย ภูวดล สุวรรณชาติ นครปฐม 13
ไทย วสันต์ นาทะสัน เชียงราย ยูไนเต็ด 13
7 ไทย โชคลาภ นิลแสง สุวรรณภูมิ ศุลกากร 12
ไทย วรเวศ จันทร์อุทัย สงขลา 12
บูร์กินาฟาโซ วาเอรี่ ซานู ศรีราชา 12

อ้างอิง

[แก้]
  1. "แถลงแล้ว ไทยลีก-ด.1 เพิ่ม 18 ทีม เพลย์อ๊อฟเริ่มหวด ธ.ค." SMM Sport. SMM Sport. 9 พฤศจิกายน 2553. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  2. "สมาคมฟุตบอลฯลงดาบนครปฐมแบน 2 ปี ปรับกว่า 1.5 แสนบาท". Voice TV. Voice TV. 29 ธันวาคม 2553. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]